วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556

Glossary


accurate ถูกต้อง/แม่น : คือความปราศจากข้อผิดพลาด,การเข้าใจผิดหรือการบิดเบือน
ความถูกต้องเพียงเล็กน้อยที่แฝงอยู่มีมากกว่าการไม่มีความผิดพลาด; ความถูกต้องในที่นี้คือหนึ่งในแนวทางที่ดีที่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงและความเป็นจริง;เน้นให้เกิดความคล้อยตามไปในแนวทางที่เป็นจริง และ ข้อเท็จจริง หรือ มาตรฐานบางอย่าง
ความถูกต้องเป็นเป้าหมายสำคัญในการคิดเชิงวิจารณญาณแม้การคิดเชิงวิจารณญาณนี้จะเป็นเรื่องของระดับต่างๆอยู่เสมอ การคิดนี้เป็นสิ่งสำคัญต่อการเรียนรู้เช่นเดียวกัน การก่อให้เกิดความผิดพลาดเป็นสิ่งจำเป็นของขบวนการเรียนรู้และจะเป็นผลดีในระยะยาวต่อนักเรียน นักเรียนได้เรียนรู้ความผิดพลาดด้วยตัวเองดีกว่าที่พวกเขาจะเชื่อตามบทความหรือจากตัวอาจารย์ ความคิดบางอย่างที่ถูกบิดเบือนเป็นผลมาจากเมื่อไหร่ก็ตามที่เราคิดควบคู่ไปกับเป้าหมาย กรอบหรือการอ้างอิง
นักเรียนควรคิดไปพร้อมๆกับการตระหนักและการรู้สึกถึงของข้อจำกัดของตัวนักเรียนเอง
,ของบทความที่อ้างอิง,ของตัวอาจารย์และมุมมองของวิชา
เห็นถึงความสมบรูณ์ของความคิด




ambiguous ความคลุมเครือ : ประโยคที่มีสองความหมายหรือมากกว่าหลายความหมายที่เป็นไปได้ ความไวต่อความคลุมเครือและความไม่ชัดเจนนั้นในการเขียนและการพูดนั้นเป็น สิ่งจำเป็นสำหรับกระบวนการคิดที่ดี ควรพยายามอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความชัดเจนและแม่นยำในการใช้ภาษาซึ่งเป็น เป็นพื้นฐานของการศึกษา ความกำกวมเป็นปัญหามากขึ้นกว่าแค่ประโยคของคำแต่ละคำ นอกจากนี้ไม่ใช่ทุกประโยค ที่จะสามารถตีความได้มากกว่าหนึ่งอย่าง ทุกความหมายที่เป็นปัญหาและสมควรได้รับการวิเคราะห์ หลายประโยคมีความตั้งใจอย่างชัดเจนโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ตัวอย่างของความกำกวม โดยให้พิจารณาคำกล่าวที่ว่า "ความเสียหายของสวัสดิการ" ในความหมายที่เป็นไปได้ของประโยคนี้ มีดังต่อไปนี้ ผู้ที่ดูแลสวัสดิการจะติดสินบนเพื่อการจัดการนโยบายสวัสดิการที่ไม่เป็นธรรม นโยบายสวัสดิการที่เขียนในลักษณะที่ว่า เงินที่จะไปให้กับผู้ที่สมควรได้รับมันมากกว่าหรือไม่ รัฐบาลที่ให้เงินให้กับผู้ที่ยังไม่ได้รับ ทั้งผู้ให้และผู้รับ ถ้าคนสองคนจะเถียงหรือไม่ ก้จะเกี่ยวเนื่องกับสวัสดิการ แต่การเรียกร้องการตีความแตกต่างกันพวกเขาสามารถทำให้ความคืบหน้าเพียงเล็ก น้อยหรืออาจจะไม่มี พวกเขาจะไม่ได้รับการโต้เถียงเกี่ยวกับจุดเดียวกัน หลักฐานและการพิจารณาที่เกี่ยวข้องกับการแปลความหมายหนึ่งอาจจะไม่เกี่ยว ข้องกับคนอื่น ๆ 

analyze
การตีแตกประเด็นใหญ่ให้ให้เป็นประเด็นย่อยๆ, การยกตัวอย่างในรายละเอียดต่างๆ หรือการที่มองให้ลึกลงไปในประเด็นหรือสถานการณ์นั้นๆ ในการเรียนก็เช่นเดียวกัน เราควรต้องวิเคราะห์ให้ได้เกี่ยวกับสิ่งที่เราเรียนอยู่ นักเรียนควรต้องถูกถามเพื่อที่
จะวิเคราะห์ความคิด ประสบการณ์ การตีความ การตัดสินใจ ทฤษฎีต่างๆ หรือสิ่งอื่นๆที่ได้ยินหรือได้ฟังมาในชีวิตประจำวัน


argue โต้เถียง : คำนี้มีสองความหมายของคำนี้ที่จะมีความโดดเด่น  ได้แก่  1) การโต้แย้งในความหมายของการต่อสู้หรืออารมณ์ไม่เห็นด้วย และ 2) เพื่อให้เหตุผลสนับสนุนหรือต่อต้านข้อเสนอ ในการเน้นเรื่องการคิดอย่างมีวิจารณญาณ  เราพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะให้นักเรียนของเราที่จะย้ายจากความรู้สึกแรกไป สู่ของความรู้สึกที่สอง นั่นคือการที่เราพยายามที่จะให้พวกเขาเห็นความสำคัญของการให้เหตุผลที่จะ สนับสนุนมุมมองของพวกเขาโดยปราศจากอัตตา ในสิ่งที่พวกเขากำลังพูดถึง นี้เป็นปัญหาพื้นฐานในการดำรงชีวิตของมนุษย์ การโต้แย้งในความรู้สึกความคิดที่สำคัญคือการใช้ตรรกะและเหตุผลและนำไปสู่ ข้อเท็จจริงที่จะสนับสนุนหรือหักล้างจุด จะทำในจิตวิญญาณของความร่วมมือและความปรารถนาดี

argument

to assume การทึกทัก หรือการสันนิษฐาน : การสมมติล่วงหน้าไว้ก่อน ซึ่งนักวิเคราะห์เชิงวิจารณญาณนั้นจะตั้งข้อสันนิษฐานไว้อย่างชัดเจน และพิสูจน์หรือแก้ไขให้ถูกต้องในเวลาต่อมา ซึ่งข้อสันนิษฐานเหล่านั้นอาจจะมาจากชีวิตประจำวันหรือปัญหาเฉพาะหน้าก็เป็น ได้ อาทิ ฉันได้ยินเสียงขูดพื้น ฉันจะเดาล่วงหน้าว่านั่นคือเสียงแมว เพราะมีแต่แมวเท่านั้นที่ทำเสียงแบบนั้นได้ และคงจะทำเพื่อเรียกฉันให้เปิดประตูให้มันเข้าบ้าน หรือเมื่อมีใครมาพูดจาแข็งกระด้างใส่ฉัน ฉันอาจจะรู้สึกเจ็บปวดก็จริง แต่จะรู้สึกผิดไปในเวลาเดียวกัน เดาว่าเขาคงจะโมโหฉัน และเมื่อปกติแล้วจะโมโหต่อเมื่อมีคนทำไม่ดีใส่ เขาคงจะไม่ชอบอะไรสักอย่างที่ฉันทำนั่นแหละ แต่ปัญหามักจะเกิดขึ้นเมื่อคนเราคาดเดาผิดๆล่วงหน้า จนกระทั่งมีการเตือนกันเสมอว่า “อย่าตีตนไปก่อนไข้” หรือ “อย่ามโนภาพไปเอง” ซึ่งจริงๆ แล้ว การสัณณิษฐานบางอย่างก็สามารถเชื่่อถือได้ (อย่างเช่น ถ้าคุณซื้อหนังสือเล่มนี้มาอ่าน อย่างน้อยที่สุด คุณก็ต้องอ่านภาษาไทยออก) เพราะฉะนั้น อย่ากลัวที่จะคาดการณ์สิ่งต่างๆ เพียงแต่ “ระมัดระวังในข้อสันนิษฐานของตัวเอง เตรียมพร้อมที่จะพิสูจน์และวิจารย์มัน” และจงมองการสมมติเหล่านี้ เป็นองค์ประกอบหนึ่งของกระบวนการคิดด้วย

assumption สมมุติฐาน : คือ ข้อความที่ถูกยอมรับหรือถูกสมมุติว่าจริงโดยไม่ได้พิสูจน์ หรือแสดงหลักฐานใดๆ สมมุติฐานหรือความเชื่อที่ไม่มีการระบุสิ่งอื่น ความคิดเห็นหรือประสบการณ์ของคนเราอยู่บนพื้นฐานของการสมมุติ ความคิดของเราต้องเริ่มจากบางสิ่งบางที่เราเชื่อว่าจริงตามบริบท เรามักไม่รู้ตัวถึงสิ่งที่เราสมมุติหรือตั้งคำถามใดๆในการสมมุติของเรา ในความคิดของมนุษย์ที่ใฝ่ผิด สามารถพบการสมมุติแบบไม่ได้ตรวจสอบ ตัวอย่างเช่น เรามักมีประสบการณ์เกี่ยวกับโลกในแบบที่เราคิด เราสังเกตุสิ่งต่างๆที่มันเป็นอยู่ เหมือนกับว่าเห็นโลกโดยที่ไม่ได้กรั่นกรองความคิดเห็น ถ้ามีคนไม่เห็นด้วยกับสิ่งที่เราคิดเราจะรู้สึกว่าเรามีความเห็นที่ถูก กุญแจของการจัดการกับความคิดที่จำเป็นนี้คือ ความตระหนัก ในความเป็นมนุษย์เรามักคิดเสมอโดยใช้ทัศนคติของเราเองโดยที่เราไม่มี ประสบการณ์ที่แท้จริง มันมีการเชื่อมต่อกันระว่างการคิดแบบดังกล่าว โดยเราจะต้องระมัดระวังสมมุติฐานของเราเองและความสมถะทางสติปัญญา

authority : 1. อำนาจในการสั่งการ ใช้กำลังบังคับให้อยู่ในโอวาท ปฏิบัติการ หรือตัดสินใจขั้นเด็ดขาด
2. ผู้รอบรู้และเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ที่เชื่อถือได้ด้วยเหตุนี้ นักคิดยอมรับว่าอำนาจสูงสุดขึ้นอยู่กับเหตุผลและหลักฐาน เพราะมันเป็นเพียงข้อสันนิษฐานที่ผู้เชี่ยวชาญอ้างว่าได้รับการสนับสนุนจาก เหตุผลและหลักฐานที่พวกเขาได้รับอำนาจโดย ชอบธรรม การเรียนการสอนโดยส่วนใหญ่กีดกันการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียน โดยสนับสนุนให้นักเรียนเกิดความเชื่อว่าข้อความใด ๆ หรือครูพูดเป็นความจริง เป็นผลให้นักเรียนไม่ได้เรียนรู้วิธีการประเมินผู้ที่มีอำนาจ

bias อคติ จิตเอนเอียง เราต้องแยกความต่างของสองความรู้สึกของคำว่าอคติ หนึ่ง คือ ความเป็นกลางเชิงลบ ในแง่ความเป็นกลางหมายถึงความจริงที่มีมุมมองสังเกตเห็นบางอย่างมากกว่าคน อื่น เน้นบางจุดมากกว่าคนอื่นๆ และคิดในทิศทางใดทิศทางหนึ่งมากกว่าคนอื่นๆ ในความรู้เชิงสึกลบนั้นเหมือนถูกปิดตาและจะเกิดความคิดภายในในมุมมองที่หลีก เลี่ยงไม่ได้ นักคิดพยายามที่จะตระหนักถึงความอคติของพวกเขาและพยายามที่จะหลีกเลี่ยงมัน หลายคนสับสบกับความอคติหรืออารมณ์ความรู้สึกที่มีการแสดงออกมาด้วยความเอน เอียง การประเมินคำพูดด้วยความเป็นธรรมและเหตุผลจะทำให้ปราศจากอคติ โดยดูจากความต้องการพื้นฐาน การตัดสิน และความเห็นส่วนตัว
  
clarify ความชัดเจน คือการทำให้เข้าใจง่ายขึ้นเพื่อคลายความสับสนและความกำกวมหรือคลายความคลุม เครือ โดยความชัดเจนนั้น เป็นความสมบูรณ์c[[ขั้นพื้นฐานของการคิดที่ดีและเป็นการชี้แจงจุดมุ่งหมาย พื้้นฐานของการคิดเชิงวิจารณญาณ โดยผู้ศึกษานั้นมักไม่เห็นถึงความสำคัญ
ที่จะเขียน และ การพูดให้ชัดเจน ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะใช้ในการอธิบายถึงจุดมุ่งหมาย และ จุดมุ่งหมายในการอธิบายโดยเป็นกุญแจสำคัญในการชี้แจงอย่างเป็นรูปธรรม ยกตัวอย่างเช่น การดูความถูกต้อง
ความคลุมเครือ การใช้ภาษา และ ความไม่ชัดเจน

concept


conclude/conclusion : การตัดสินใจอย่างมีเหตุผลเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อสรุป
; ขั้นตอนสุดท้ายในกระบวนการที่ใช้เหตุผล; คำตัดสิน,การตัดสิน/ตกลงใจ,หรือความเชื่อที่เกิดขึ้นหลังการสืบสวนหาข้อเท็จจริงอย่างมีเหตุผล ความเชื่อ,การตัดสินใจหรือการกระทำนั้นขึ้นอยู่กับความคิดของมนุษย์แต่น้อยครั้งที่ความคิดเหล่านี้จะมาจากการคิดอย่างมีสติมีเหตุผลและผ่านการตรึกตรองพินิจพิเคราะห์อย่างรอบคอบ  สิ่งที่เราเชื่ออย่างหนึ่งอาจมาจากข้อสรุปที่เราได้ผ่านและพบเจอมาในชีวิตแต่น้อยครั้งที่เราจะตรวจสอบและสังเกตกระบวนการคิดของเรา  เรามักไม่ประเมินผลข้อสรุปที่ได้มาด้วยเหตุผลและวิจารณญาณเพื่อที่จะวัดว่าเรามีพื้นฐานหรือเหตุผลที่เพียงพอจะยอมรับข้อสรุปนั้นๆหรือไม่

consistency


contradict/contradiction (ขัด แย้ง / ความขัดแย้ง) : ยืนยันความเห็นที่ไปกันคนละทาง , ตรงกันข้ามกัน , ไปในทางต่อต้าน ; พูดในสิ่งอื่นที่ตรงกันข้าม ; สภาพที่มีแนวโน้มจะเป็นการขัดแย้งกับคนอื่นๆ ; ความไม่ลงรอยกัน ; ความขัดแย้ง ;
บุคคลหรือสิ่งที่จำกัดหรือประกอบด้วยองค์ประกอบที่ขัดแย้ง
ดูความแตกต่างของบุคคลและความขัดแย้งของสังคม

criterion (criteria, pl


critical listening.การฟังอย่างมีวิจารณญาณ
เป็นวิธีการอย่างหนึ่งเพื่อควบคุมการฟังของพวกเรา ว่าพวกเราควรมีวิธีการฟังอย่างไรที่จะฟังแล้วเข้าใจสิ่งที่คนอื่นเขาพูดได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยการทำความเข้าใจตรรกะของการสื่อสารของมนุษย์ ซึ่งหมายถึงว่า ทุกสิ่งที่ผู้พูด พูดออกมา เป็นการแสดงออกถึง แง่คิด หรือมุมมองหนึ่งๆ เป็นการใช้แนวความคิดบางอันเพียงเท่านั้น ไม่ใช่ทั้งหมด และมีความหมายโดยนัยแฝงอยู่เสมอ นักคิดที่มีวิจารณญาณที่ดี จะสามารถฟังได้อย่างเข้าอกเข้าใจผู้พูด และวิเคราะห์ได้เข้าไปจนถึงมุมมองความคิดของผู้พูด

critical person

critical reading : การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ  การอ่านอย่างมีวิจารณญาณเป็นกระบวนการทางปัญญาที่คล่องแคล่ว ที่ผู้อ่านเข้าถึงความคิดของผู้เขียน ผู้คนส่วนใหญ่อ่านอย่างไม่มีวิจารณญาณ ดังนั้นจึงมองข้ามบางส่วนที่สำคัญในขณะที่กำลังบิดเบือนส่วนอื่น ผู้อ่านที่มีจารณญาณพบวิธีอ่านอย่างเป็นธรรมชาติ ซึ่งหมายถึงการเข้าถึงมุมมองของคนอื่นมากกว่าของตนเอง หรือก็คือเข้าถึงมุมมองของผู้เขียน ผู้อ่านอย่างมีวิจารณญาณจะมองหาข้อสันนิษฐาน แนวความคิดหลัก เหตุผลและการอ้างอิงเหตุผล ตัวอย่างสนับสนุน ประสบการณ์คู่ขนาน ความหมายโดยนัยและผลลัพธ์ และลักษณะทางโครงสร้างอื่นๆในถ้อยคำที่เขียน เพื่ออธิบายและประเมินถ้อยคำอย่างตรงไปตรงมาและสมเหตุสมผล

critical society: สังคมที่มีวิจาณญาณสังคม ที่ร่วมกันให้คุณค่ากับการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เนื่องจากไม่ใช้การสั่งสอนให้งมงายและอบรมด้วยวิธีการเรียนพื้นฐานทั่ว ไป (ให้รางวัลแก่ผู้ที่ไตร่ตรองในการตั้งคำถาม, มีอิสรภาพทางปัญญา, การคัดค้านอย่างมีเหตุผล) โสเครติสไม่ใช่เพียงคนเดียวที่จินตนาการถึงสังคมที่มีอิสระในการคิด อย่างมีวิจารณญาณและทำให้แนวคิดของเขากลายเป็นรูปเป็นร่างยิ่งขึ้นในทุก วันนี้ แต่ยังมี William Graham Sumner นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกาเหนือ ที่ได้วางหลักอุดมคติไว้อย่างแน่ชัดไว้ ดังนี้ : การคิดอย่างมีวิจารณญาณจนเป็นนิสัย ถ้าเป็นปกติในสังคมการคิดอย่างมีวิจาณญาณจะแพร่หลายโดยทั่วกันเพราะมันคือ แนวทางที่จะพัฒนาชีวิต การเรียนรู้ของมนุษย์ในเรื่องการคิดเช่นนี้ ไม่สามารถแสดงให้เห็นโดยนักปราศรัยและไม่สามารถรับรู้ได้โดยวาทะศิลป์ที่ลึก ลับ ผู้คนในสังคมนี้จะใช้ระยะเวลาหนึ่ง ก่อนที่จะเชื่อในสิ่งไหน เขาสามารถรวบรวมทุกเหตุผลที่สามารถเป็นไปได้มา พิจารณา ไร้ซึ่งความแน่นอน พวกเขาสามารถรอให้เห็นหลักฐานและชั่งน้ำหนักหลักฐาน นั้น เขาไม่ได้รับผลกระทบจากความโดดเด่นหรือ ความเชื่อมั่นซึ่งเกิดจากการได้ผลผระโยชน์ของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง พวกเขาสามารถ ขัดขวางเมื่อเกิดการมีอคติ การเอนเอียง หรือการอ้อนวอนทุกรูปแบบได้ การศึกษาในคณะวิจารณญาณศาสตร์ เป็นการศึกษาที่ถูกกล่าวถึงอย่างถูกต้องว่าได้สร้างประชาชนที่ดี ขึ้น (Folkways,1906) กระทั่งการคิดอย่างมีวิจารณ ญาณจนเป็นนิสัยได้แพร่หลายไปในสังคม อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีการเห็นชอบให้โรงเรียนเป็นสถาบันทางสังคมหนึ่งที่จะสื่อว่ามุมมองของ โลกในขณะนั้นได้ขาดการมีวิจาณญาณไปมากน้อยเพียงใดเพื่อจะสื่อสารออกมาตามความเป็นจริงมิใช่เพียงภาพของความเป็นจริง การศึกษาเพื่อการคิดอย่างมีวิจา ณญาณนั้นได้กำหนดให้โรงเรียนหรือห้องเรียนได้เป็นหน่วยเล็กๆที่สำคัญในสังคม ที่มีวิจารณญาณ สังเกตได้จากการให้ความรู้ด้วยวิธีการสั่งสอน ความดีงามและคุณธรรมทางปัญญา

critical thinking: การคิดเชิงวิจารณญาณ 1. การรักษาวินัย , การใช้ความคิดตนเองกำกับเป็นตัวอย่างอธิบายความสมบูรณ์ทางความคิดที่เหมาะสม และขอบเขตทางความคิด

2. ความคิดนั้นก่อให้เกิดการเรียนรู้ทั้งความสามารถและ ทักษะเชิงปัญญา
3. ศิลปะทางความคิดนั้นเกี่ยวข้องกับความคิดเราในขณะที่เราคิดจะพัฒนาความคิดตนเองให้ดีขึ้น
ชัดเจนขึ้น แม่นยำขึ้น หรือสามารถรักษาไว้ได้ การคิดเชิงวิจารณ-ญาณนั้นอาจแบ่งได้เป็น2รูปแบบ :
“เพื่อประโยชน์ของตัวเอง”หรือ”เพื่อการ หลอกลวง” ในแบบแรก และ”ความคิดที่เป็นกลาง”ในอีกรูปแบบหนึ่ง, ในเชิงความคิดเราใช้คำสั่งในองค์ประกอบทางความคิดเพื่อปรับปรุงความคิดของเราให้สำเร็จลุล่วงในด้านความต้องการเชิงตรรกะทางความคิดบุคคลที่สำคัญ สังคมที่ สำคัญ การอ่านการฟังการเขียนที่สำคัญความสมบูรณ์ทางความคิด , องค์ประ- กอบทางความคิด , ขอบเขตของความคิด ,
คุณธรรมเชิงปัญญา

critical writing:


critique: คำติชม, คำวิจารณ์ เป้า หมายของการตัดสิน การวิเคราะห์ หรือ การประเมินผลของบางสิ่งบางอย่าง วัตถุประสงค์ของคำวิจารณ์เป็นเช่นเดียวกับวัตถุประสงค์ของการคิดอย่างมี วิจารณญาณ คือ ชื่นชมจุดแข็งเช่นเดียวกับจุดอ่อน, ความถูกต้องดีงามเช่นเดียวกับความล้มเหลว นักคิดที่ดีมักจะให้คำวิจารณ์เพื่อการปรับปรุงและทำให้ดีขึ้น

cultural association:การรวมกลุ่มทางวัฒนธรรม
การคิดที่ไม่มีแบบแผนหรือระเบียบวินัยมักสะท้อนกลับสู่การรวมกลุ่ม ทั้งส่วนบุคคลและทางวัฒนธรรม โดยผ่านการรับรู้หรือการรวมตัวอย่างไม่เป็นเหตุเป็นผล เช่นว่า หากมีบุคคลหนึ่งกระทำสิ่งโหดร้ายต่อเราในวัยเด็กโดยบุคคลนั้นมีโทนเสียงหนึ่ง อาจส่งผลให้เราไม่ชอบบุคคลที่มีโทนเสียงเดียวกันได้ สื่อโฆษณาเทียบเคียงและเชื่อมโยงสิ่งที่ไม่สัมพันธ์กับหลักเหตุผลเพื่อจูงใจพฤติกรรมการซื้อของผู้ซื้อ การถูกเลี้ยงดูในประเทศหนึ่งหรือภายในกลุ่มหนึ่งกลุ่มใดในประเทศนั้นๆ เราได้สร้างการเชื่อมโยงทางจิตใจขึ้นมา โดยแม้ว่าการเชื่อมโยงเหล่านั้นจะยังไม่ได้รับการตรวจสอบแต่ก็มีอิทธิพลต่อการคิดของเราอย่างไม่ถูกต้องเหมาะสม


Cultural assumption
สมมติฐานทางวัฒนธรรม : ไม่สามารถประเมินความเชื่อที่ตนเองจะรับเข้ามาด้วยคุณธรรมของการอบรมในสังคมได้เลย ในสังคม คนเรามักจะนำมันไปขึ้นกับเหตุผล คุณค่า ความเชื่อและการฝึกฝนโดยที่ไม่รู้ตัว เค้ามูลของสิ่งเหล่านี้จะสามารถเป็นสมมติฐานได้หลายรูปแบบ ไม่ใช่ความรู้ที่เราเข้าใจ แต่งขึ้น คิด หรือประสบการณ์ที่เรารับเข้ามาโดยปราศจากเหตุผล คนเรามักยกตัวเองตัดสินใน สิ่งที่พวกเขาเป็น แต่ไม่ตัดสิน ข้อได้เปรียบที่พวกเข้าแสดง กลายมาเป็นการตระหนักถึงเหตุผลทางสังคมของเรา เพื่อที่ว่าคนเราจะได้พิจารณ์พวกเขาอย่างรุนแรงได้ในขอบเขตของการคิดเชิงวิจารณญาณ มันเป็นเช่นนั้นจริง แต่อย่างไรก็ตาม ขอบเขตที่ว่านี้แทบจะไม่มีอยู่ในการเรียนการสอน อุดมคตินี้เป็นเพียงแค่อุดมคติที่ได้แค่ยกย่องเท่านั้น การที่ทำจะได้จริงเป็นสิ่งที่ไม่เคยได้ยินมาก่อน จะเห็นได้จากการเชื่อมั่นใจความเหนือกว่าของกลุ่มพวกตัวเอง การลำเอียง และความเหลื่อมล้ำทางสังคม

25 Data ฐานข้อมูล - ข้อเท็จจริง ตัวเลข หรือ ข้อมูล จากข้อสรุปที่สามารถสรุปได้หรือขึ้นอยู่กับการตีความหรือทฤษฎีที่นำมาเป็น ฐานอ้างอิง ซึ่งนักคิดเชิงวิจารณญาณต้องมีความมั่นใจ,มีฐานข้อมูลที่แน่น และมีสามารถแยกแยะจำแนกได้ก่อนที่จะสรุปออกมา

26 dialectical thinking


27 dialogical instruction คำแนะนำเกี่ยวกับการสนทนา

คำแนะนำการสนทนาหรือการคิดอย่างมีเหตุผล หากกำลังพิจารณาเกี่ยวกับคำถาม การเรียนนี้จะนำวิชาที่เกี่ยวข้องมาสนับสนุนและพิจารณาภาพของกลุ่มผู้ซี่งความเห็นจะไม่ตรงกับหนังสือของพวกเขา ยกตัวอย่างเช่น “พระเจ้าจอร์จคิดอย่างไรกับการประกาศอิสรภาพ, สงครามการปฎิวัติ, สภาสูง, เจฟเฟอร์สัน และ วอชิงตัน และอื่นๆ”  หรือ นักเศรษฐศาตร์วิเคราะห์สถานการณ์นี้อย่างไร? นักประวัติศาสตร์? นักจิตวิทยา? นักธรณีวิทยา? มองวิกฤติของสังคม, คำสั่งสอน, การเรียนระดับลูง. การเรียนระดับตำ่, คำถามที่ต้องการเหตุผล, ความรู้



28 dialogical thinking:


การคิดแบบการแลกเปลี่ยนความเห็น: ความคิดนั้นเชื่อมโยงกับการสนทนาหรือการแลกเปลี่ยนที่เพิ่มขึ้นมาระหว่างประเด็นที่แตกต่างกันของมุมมองหรือกรอบอ้างอิง นักเรียนจะสามารถเรียนรู้ได้ดีที่สุดในสถานการณ์การสนทนา ในเหตุการณ์ที่พวกเขาแสดงมุมมองต่อผู้อื่นอย่างต่อเนื่อง และพยายามที่จะเข้ากับมุมองของผู้อื่นอย่างเป็นตัวของตัวเอง มองเห็นการตั้งคำถามแบบโสเครติค,การคิดโดยใช้ตรรกะด้านเดียว, การคิดโดยใช้หลายตรรกะ และการคิดเชิงวิภาษ


29 didactic instruction: เป็น การเรียนการสอนด้วยการบอก ที่ครูจะบอกข้อมูลโดยตรงให้แก่นักเรียนว่าคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับหัวข้อที่ สอน งานของนักเรียนคือการจดจำสิ่งที่ครูสอนให้ได้มากที่สุด การสอนแบบนี้เป็นการเรียนการสอนที่พบได้มากที่สุด โดยจะเป็นการให้ความรู้แก่นักเรียนโดยไม่ผ่านการคิดหรือการตกตะกอนจากผู้ เรียน

30 domains of thought: ขอบเขตทางความคิด  การคิดเกิดได้จากหลายมุมมอง การคิดจึงมีความหลากหลาย ทั้งทางด้านจุดมุ่งหมายและประเด็น   Critical thinkerเรียนรู้ที่จะจัดการความคิดเพื่อที่จะนำไปสู่ประเด็นและขอบเขตของ เรื่องนั้นๆ  เราสามารถเห็นลักษณะการคิดเช่นนี้ได้จาก ตัวอย่างความแตกต่างขณะเราพิจารณาประเด็นหนึ่งๆในมุมมองในด้านวิชาที่ต่าง กัน เช่น การคิดแบบคณิตศาสตร์ก็ต่างจากการคิดแบบประวัติศาสตร์ กล่าวได้ว่า ทั้งสองสาขาวิชาเป็นตัวแทนของความแตกต่างของขอบเขตทางความคิดนั่นเอง

31 egocentricity การ ถือเอาตนเองเป็นใหญ่ มองทุกอย่างจากมุมของตนเอง ทำให้เกิดความสับสนในการรับรู้ทันทีกับ(สิ่งที่ดูเหมือน)ความจริง หนึ่งในค่านิยมและความเชื่อ(ดูเหมือนจะเป็นความถูกต้องความชัดแจ้งในตนเอง หรือเหนือกว่าคนอื่นๆ)มักจะถูกนำมาใช้เป็นบรรทัดฐานอย่างจริงจังของการ ตัดสินทั้งหมดและประสบการณ์ Egocentricity เป็นหนึ่งในอุปสรรคพื้นฐานในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ในฐานะที่เป็นคนหนึ่งที่เรียนรู้ที่การคิดวิเคราะห์อย่างเข้มข้น จนกลายเป็นคนที่มีเหตุผลมากขึ้นและเห็นแก่ตัวน้อยลง เห็นธรรมชาติของมนุษย์ เป็นนักคิดที่มีความคิดแข็งแกร่ง สามารถแยกแยะความขัดแย้งส่วนตัว

32 elements of thought: องค์ประกอบของความคิด : ในทุกๆความคิดจะมีกลุ่มองค์ประกอบสากล ที่แต่ละชุดขององ์ประกอบจะสามารถตรวจสอบปัญหาที่เป็นไปได้: “พวก เรามีจุดประสงค์หรือเป้าหมายที่ชัดเจนหรือไม่?” “เกี่ยวกับปัญหาหรือคำถามที่ปรากฏหรือไม่” “เกี่ยวกับมุมมอง กรอบโครงสร้าง หรือ การอ้างอิงหรือไม่” “เกี่ยวกับการสันนิษฐานของพวกเราหรือไม่?” “เกี่ยวกับการเรียกร้องที่เราจะทำหรือไม่?” “เกี่ยวกับเหตุผลหรือพยานหลักฐานตามที่เรากำลังพิจารณาข้อเรียกร้องของเรา หรือไม่?” “เกี่ยวกับการวินิจฉัยและสายของเหตุผลของเราหรือไม่” “เกี่ยวกับความหมายและผลลัพธ์ที่ตามมาจากการใช้เหตุผลของเราหรือไม่” นักคิดอย่างมีวิจารณญาณพัฒนาทักษะของการระบุและประเมินค่าองค์ประกอบเหล่านี้ในความคิดของพวกเขาและในความคิดของผู้อื่น

33 emotion: อารมณ์ : ความรู้สึกที่ก่อเกิดขึ้นมาจากเสี้ยวหนึ่งของการรับรู้ มักจะเป็นความรู้สึกหรือแรงกระตุ้นที่รุนแรง และยิ่งเมื่อมีความรู้สึกเข้าข้างตนเองหรือมีความรู้สึกส่วนตัว อาทิ การกระตุ้นโดยความโกรธ ความกลัว ความอิจฉาเข้ามาเกี่ยวข้องแล้วด้วยนั้น จุดมุ่งหมายของเรามักจะลดลงหรือหายไป นักคิดเชิงวิจารณญาณจึงมีความจำเป็นต้องจัดการกับอัตตาของตเอง แล้วทำตนเองให้มีเหตุผลเพียงพอที่จะรู้สึกให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เป็น อยู่ เพราะอารมณ์และความรู้สึกนั้นไม่มีเหตุผล ไม่มีที่มาที่ไป อย่างไรก็ตาม เป็นเรื่องธรรมดาที่คนเราจะรู้สึกอะไรสักอย่างรุนแรงเมื่อมีความรู้สึกส่วน ตัวเป็นแรงผลักดัน

ดังนั้นหนึ่งในวิธีที่จะเข้าใจเป้าหมายของการคิดเชิงวิจารณญาณนั้นคือพยายามที่จะพัฒนาอารมณ์และความรู้สึกของตนเองให้มีเหตุผล และผลักเรื่องส่วนตัวออกไปให้หมดนั่นเอง
34 empirical
















หมายถึงการอาศัย หรือ การตั้งอยู่บนรากฐานของการทดลอง การสังเกต หรือ ประสบการณ์มากกว่าการใช้ทฤษฎีหรือความหมาย

มันเป็นสิ่งสำคัญที่จะแยกแยะความแตกต่างอย่างต่อเนื่องว่าการพิจารณานั้นขึ้นอยู่กับการทดลอง
การ สังเกต หรือ ประสบการณ์ มากกว่าที่จะมาจากผู้ที่อยู่บนพื้นฐานของความหมายของคำหรือแนวความคิดหรือ ความหมายของทฤษฎี หนึ่งรูปแบบของการคิดอย่างมีวิจารณญาณไม่ลำเอียงหรือเห็นแก่ตัวที่บิดเบือน ข้อเท็จจริงหรือประสบการณ์เพื่อที่จะรักษาความหมายที่ผิดๆหรือทฤษฎี

ตัวอย่าง เช่น จารีตที่บิดเบือนข้อเท็จจริงที่สนับสนุนมุมมองเสรีนิยมเพื่อป้องกันไม่ให้หลักฐานที่เป็นจริงมาขัดกับทฤษฎีของโลกที่ เขาหรือเธอเชื่อมาอย่างเหนียวแน่น แท้จริงแล้วภายในมุมมองและระบบความเชื่อจำนวนมากนั้นมักจะบิดเบือนข้อเท็จ จริงก่อนที่พวกเขาจะยอมรับความอ่อนแอในทฤษฎีความเชื่อที่เขาหรือเธอชื่นชอบ ถ้าดูจากข้อมูล ความเป็นจริง และหลักฐาน



35 empirical implication:


36 ethnocentricity:

37 evaluation:

38 evidence:


หลักฐาน ข้อมูลที่ตัดสินหรือสรุปควรมีที่มาจากข้อพิสูจน์ ผู้ที่คิดแบบมีวิจารณญานจะมีการจำแนกหลักฐาน หรือข้อมูลดิบซึ่งเป็นรากฐานให้แก่การตีความหรือข้อสรุปของพวกเขา จากการวินิจฉัยและการตั้งสมมติฐานที่เชื่อมต่อข้อมูลไปยังข้อสรุป ผู้ที่ไม่มีการคิดเชิงวิจารณญานจะตั้งข้อสรุปขึ้นมาจากสิ่งที่ผ่านมาในประสบการณ์ชีวิต หรือสิ่งที่เขาสังเกตเห็นโดยตรงในโลก ซึ่งเป็นผลให้คนเหล่านี้พบว่าเป็นการยากที่จะทำให้ผู้อื่นเห็นด้วยกับข้อสรุปของพวกเขา ท้ายที่สุดพวกเขาก็ค้นพบความจริงเกี่ยวกับมุมมองในเรื่องนี้เจอว่า การที่จะอธิบายหรือทำให้ผู้อื่นเชื่อโดยไม่บอกถึงหลักฐานอ้างอิงนั้นเป็นไปได้ยาก


39 explicit

40 fact:ความจริง, ข้อเท็จจริง, สิ่งที่ถูกต้อง:
ความ เป็นจริงสิ่งที่เกิดขึ้นจริงสิ่งที่เป็นจริงสามารถตรวจสอบได้โดยใช้วิธีการ เชิงประจักษ์ หรือประสบความสำเร็จจากการแปลความหมายการอนุมานพิพากษาหรือข้อสรุป ข้อมูลดิบ มีความรู้สึกที่แตกต่างของคำว่า "ความจริง" คือ "จริง" (ตรงข้ามกับ "อ้างได้ว่าเป็นความจริง") และ "ประจักษ์" (ซึ่งตรงข้ามกับความคิดหรือประเมิน) คุณอาจทำให้หลายคน "เรียกร้องความจริง" ในอีกแง่หนึ่งก็คือการเรียกร้องซึ่งสามารถตรวจสอบได้หรือ disproven โดยการสังเกตหรือการศึกษาเชิงประจักษ์ แต่จะต้องประเมินการเรียกร้องเหล่านั้นเพื่อตรวจสอบว่าสิ่งนั้นเป็นจริง คนมักจะเกิดความสับสนกับความรู้สึกของทั้งสองแม้จะยอมรับว่าเป็นความจริงงบ ที่เพียง "ดูเหมือนจริง" เช่น "29.23% ของชาวอเมริกันประสบภาวะซึมเศร้า." ก่อนที่จะยอมรับเรื่องนี้เป็นจริงคุณควรประเมินก่อน ควรจะถามคำถามเช่น "How do you know? วิธีนี้อาจจะเป็นที่รู้จัก? คุณเพียงแค่ขอให้คนหากพวกเขามีความสุขและคาดการณ์ผลลัพธ์เหล่านั้นได้อย่าง ไร? ไม่ว่าคุณมาถึงที่ตัวเลขนี้?" ข้อเท็จจริงที่อ้างว่าควรมีการประเมินความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลและความ เกี่ยวข้องกับปัญหา แหล่งที่มาของข้อเท็จจริงที่อ้างว่าควรมีการประเมินสำหรับคุณสมบัติบันทึก การติดตามของพวกเขาและความเป็นธรรม การศึกษาที่เน้นการเก็บรักษาและการซ้ำซ้อนของการเรียกร้องความจริง stunts ปรารถนาของนักเรียนและความสามารถในการประเมินข้อเท็จจริงที่ถูกกล่าวหาว่า ปล่อยให้พวกเขาเปิดให้การจัดการ กิจกรรมที่นักเรียนจะขอให้ "ความจริงความแตกต่างจากความเห็น" มักจะสับสนทั้งสองความรู้สึก พวกเขาส่งเสริมให้นักเรียนที่จะยอมรับความเป็นจริงงบที่เพียง "มีลักษณะเหมือน" ข้อเท็จจริง ดูความอ่อนน้อมถ่อมตนความรู้ทางปัญญา


1 fair




เป็นธรรม: การจัดการทั้งสองอย่างหรือทุกด้านเหมือนกันปราศจากการอ้างอิงถึงความรู้สึกหรือความสนใจของคนใดคนหนึ่ง
หมายถึงเพียงการยึดมั่นในมาตรฐานของของถูกต้องหรือความถูกต้องตามกฎหมายปราศจากการอ้างอิงถึงความรู้สึกชอบของคนใดคนหนึ่ง
ความยุติธรรมและความเป็นกลาง ทั้งสองอย่างบ่งบอกถึงการเป็นอิสระจากความอคติหรือจากการต่อต้านฝ่ายใดฝ่ายนึ่ง
การอคติหมายถึงการขาดความชื่นชอบหรือความรู้สึกที่หนักแน่นเนื่องมาจากการมีความหมายโดยนัยที่เย็นชาและการตัดสินอย่างเมินเฉยไม่ใส่ใจ
วัตถุประสงค์/เป้าหมาย หมายถึงการมองคนหรือของบางอย่างโดยปราศจากอ้างอิงถึงคนคนนั้น
,ความสนใจเฉพาะบุคคล,และอื่นๆ


2 faith: ความเชื่อ:
1)การไม่มีข้อกังขาในสิ่งใด
2) ความเชื่อที่ดี สำหรับนักคิดที่ดีจะต้องไม่เชื่อในความเชื่อแรกที่รู้สึก เพราะความเชื่อแรกของคนเราจะแตะอยู่กับความรู้สึกอะไรบางอย่าง ซึ่งทำให้เกิดความไม่เป็นธรรมขึ้น แม้จะอยู่ในศาสนาหนึ่งที่เชื่อในศาสนาหนึ่งมากกว่าและในการทำเช่นนั้นก็หมาย ความว่า มีเหตุผลที่ดีสำหรับการยอมรับอย่างใดอย่างหนึ่งมากกว่าอีกอย่าง เช่น คริสเตียนเชื่อว่ามีเหตุผลที่ดีเพื่อที่จะไม่เชื่อว่ามีพระเจ้าคริสเตียนและ มักจะพยายามที่จะชักชวนให้ผู้ที่ไม่ได้ เป็นคริสเตียนเข้าร่วม เพื่อที่จะเปลี่ยนความเชื่อของพวกเขา ในความรู้สึกบางส่วนแล้วทุกคนมีความเชื่อมั่นในความสามารถของจิตใจของตัวเอง ของเขาหรือเธอที่จะตัดสินอย่างถูกต้องบนพื้นฐานของเหตุผลที่ดีและไม่เชื่อ อยู่บนพื้นฐานของความเชื่อของคนตาบอด

fact อะไร ที่เกิดขึ้นจริง อะไรที่เป็นความจริง ที่ซึ่งยืนยันมาจาก ประสบการณ์จริง หรือการทดลอง ขยายความจากการตีความ การตัดสิน หรือการสรุป ข้อมูลดิบ มีความแตกต่างทางความรู้สึกระหว่างคำว่า factual, true และ empirical ในประโยคหนึ่งๆ สามารถมีหลาย ข้อเท็จจริงได้ ซึ่งการเรียกร้อง สามารถได้รับการยืนยันหรือไม่ได้รับยืนยันที่มาจากการสำรวจหรือประสบการณ์ การทดลอง การศึกษาต่างๆ แต่เราต้องประเมินผลข้อเรียกร้องเหล่านั้น ถ้ามันเป็นจริงขึ้นมา คนมักจะสับสนกับ คำสองคำนี้ แม้ว่าจุดประสงค์ของมันก็คือ ความจริง ข้อความที่ว่า ดูเหมือนจะเป็นความจริง ยกตัวอย่างเช่น ‘29.23% ของคนอเมริกัน ต้องทนทุกข์ทรมานจากความหดหู่ ‘ ก่อนที่เราจะยอมรับว่ามันเป็นความจริง เราควรประเมินมันก่อน เราควรถามคำถาม เช่น แล้วคุณรู้ได้ยังไง? คุณได้ถามคนคนอื่นไหมว่าพวกเขาหดหู่? คุณเข้าถึงข้อเท็จจริงนี้ได้อย่างไร? ความหมายของข้อเท็จจริงควรได้รับการประเมินเพื่อความแม่นยำ ความสมบูรณ์ และความสัมพันธ์กันกับประเด็นหลัก แหล่งที่มาของความจริงควรได้รับการประเมินเพื่อคุณภาพ มาตรฐาน ความยุติธรรม การศึกษาที่ใช้ความจำและการทำซ้ำๆหยุดยั้งนักเรียนไม่ให้ประเมินความจริง กิจกรรมที่นักเรียนถูกขอให้ แยกแยะข้อเท็จจริงออกจากความคิดเห็น มักจะทำให้สับสนกับคำสองคำนี้ พวกเขาสนับสนุนนักเรียนให้ยอมรับคำว่าถูกต้องที่ดูเหมือนจะเป็น ความจริง

3 fallacy/fallacious
การเข้าใจผิดในเหตุผล ข้อคิดเห็นหรือความคิดที่แสดงออกมาไม่สอดคล้องกับเหตุและผลที่ควรจะเป็น, การหลงผิด,
ความเชื่อที่ผิด, ความคิดเพ้อเจ้อ


4 higher order learning การ เรียนรู้ที่สูงขึ้น :  การเรียนรู้ผ่านการสำรวจฐานราก, เหตุผล, ความหมายและคุณค่าของความเป็นจริง หลักการ  ทักษะหรือแนวคิด การเรียนรู้เพื่อที่จะเข้าใจอย่างลึกซึ้ง คนๆหนึ่งสามารถเรียนรู้ในเก็บจำนวนของเหตุผลของจิตใจมนุษย์ หรือการเอนเอียงที่ไม่มีเหตุผล ความจุของจิตใจมนุษย์ที่เป็นระเบียบและมุ่งความคิดผ่านความมุ่งมั่นใน มาตรฐานทางปัญญาหรือคนๆหนึ่งสามารถเรียนรู้ผ่านสมาคม การศึกษาเพื่อความคิดทำให้การเรียนรู้สูงขึ้นโดยการช่วยให้นักเรียนกระตือรือร้นที่จะคิดวิธีการของพวกเขาไปสู่ข้อ สรุป   หารือเกี่ยวกับความคิดของพวกเขากับนักเรียนคนอื่น ๆ และครู คือให้ความบันเทิงได้หลายมุมมอง ได้แก่ การวิเคราะห์แนวคิด  ทฤษฎีและคำอธิบายในแง่ของตัวเอง คือคำถามที่ตื่นตัวในความหมายและผลกระทบจากสิ่งที่พวกเขาเรียนรู้ เปรียบเทียบสิ่งที่พวกเขาเรียนรู้สิ่งที่พวกเขามีประสบการณ์  สิ่งที่พวกเขาใช้เวลาในการอ่านและเขียนอย่างจริงจัง  แก้ปัญหาที่ไม่ใช่ปัญหาที่พบบ่อยๆ  ตรวจสอบสมมติฐาน รวบรวม และประเมินหลักฐาน นักเรียนควรจะเรียนรู้ในแต่ละเรื่องโดยมีส่วนร่วมในความคิดภายในเรื่องนั้น พวกเขาควรจะเรียนรู้จากประวัติศาสตร์ด้วยความคิดทางประวัติศาสตร์  คณิตศาสตร์โดยการคิดทางคณิตศาสตร์ ฯลฯ ในการดูการเรียนการสอน การอภิปราย การเรียนรู้ที่ต่ำกว่า  สังคมที่สำคัญ  ความรู้   หลักการโดเมนของความคิด

5 human nature


6 idea: แนว ความคิด : อะไรก็ตามที่มีอยู่ในจิตใจ ไม่ว่าจะเป็นความรู้หรือความนึกคิดก็นับว่าเป็นทั้งนั้น เพราะแนวความคิดมีต้นกำเนิดมาจากรายละเอียดของสิ่งต่างๆ และขึ้นอยู่กับความรู้เดิมหรือสิ่งทั่วไปที่พบเห็นและจดจำมา การหาแนวคิด มักจะเกี่ยวโยงกับสิ่งต่างๆ ที่รับรู้อยู่ในจิตใจหรือจินตนาการขึ้นมา โดยการอ้างอิงถึงความคิดใดๆ ไม่ว่าจะแสดงออกมาหรือไม่นั้น เกิดขึ้นในจิตใจจากการให้เหตุผลหรือพิจารณาไตร่ตรองมาก่อน ความคิดหรือความเห็น อาจจะสื่อถึงความกำกวมหรือจุดมุ่งหมายที่ไม่ครบถ้วน ส่วนความประทับใจอาจจะเกิดขึ้นจากความไม่แน่นอนของแนวคิดที่ถูกกระตุ้นด้วย ตัวแปรภายนอก นักคิดเชิงวิจารณญาณจะทราบว่าตนเองกำลังใช้แนวความคิดใดในการคิด แนวคิดนั้นเกิดมาจากที่ไหน และจะประยุกต์ใช้มันอย่างไร

7 imply/implication ความ หมายโดยนัย : คือ การอ้างถึง หรือ ข้อเท็จจริง ซึ่งได้จากข้ออ้างอิงหรือข้อเท็จจริงอื่นๆ เป็นทักษะซึ่งสำคัญมากอย่างหนึ่งของการคิดเชิงวิจารณญาณ คือความสามารถในการแยกแยะระหว่างความหมายโดยนัยที่แท้จริง ซึ่งได้จากสถานณการณ์ และสิ่งที่ผู้คนคาดเดา หรือ อ้างถึงแบบมั่วๆ นักคิดเชิงวิจารณญาณ พยามที่จะดูแลการบอกเป็นนัยๆให้อยู่ในกรอบซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนรู้อยู่แล้ว เมื่อต้องพูด นักคิดเชิงวิจารณญาณจะพยามใช้คำซึ่งบอกเป็นนัยที่พวกเขาอธิบายได้อย่างถูก ต้องตามหลักการ พวกเขารู้ว่ามีการสร้าง บัญญัติการใช้คำขึ้นมาเพื่อช่วยในการสรุปโดยนัย ตัวอย่างเช่น หากจะเกล่าถึงการฆาตรกรรม จะสรุปโดยนัยว่าเป็นเรื่องไม่ตั้งใจและไม่มีคำอธิบาย จะให้เข้าใจง่ายขึ้น คือ ความแม่นยำ - ความเฉพาะเจาะจง การใช้ภาษา การได้รับฟังสิ่งที่จำเป็น การได้อ่านสิ่งที่จำเป็น และองค์ประกอบของการคิด

8 infer/inference
ข้อ สรุปเป็นขั้นตอนของจิตใจ, การกระทำทางปัญญาโดยสรุปว่ามีอะไรบางอย่างดังนั้นในแง่ของบางสิ่งบางอย่าง อื่นของการให้หรือดูเหมือนจะให้ ถ้าคุณมาเจอผมด้วยมีดในมือของคุณ ผมก็อาจจะคิดว่าคุณคงจะเข้ามาทำร้ายฉัน ข้อสรุปอาจจะเข้มแข็งหรืออ่อนแอ เป็นธรรมหรือไม่เป็นธรรม ล้วนแต่มีพื้นฐานอยู่บนสมมติฐาน

9 insight: ความ เข้าใจอย่างลึกซึ้ง เพื่อเข้าใจความสามารถในการเห็นอย่างชัดเจนและลึกซึ้งในเรื่องราวต่างๆ สำหรับการคิดอย่างมีวิจารณญาณจะทำให้เกิดกระตุ้นการคิดที่ลึกขึ้นในสิ่งนั้น และถึงจะเกิดเป้าหมายที่แท้จริง ในทางเดียวกันเหมือนเป็นการสังเคราะห์ความคิดที่เรียนรู้ในเรื่องใดเรื่อง หนึ่งไปถึงหลายๆเรื่องและทุกอย่างที่เกิดจากประสบการณ์ส่วนตัว ไม่มีสูตรตายตัวหรือตำราใดๆ

10 intellectual autonomy อิสรภาพ ทางปัญญา การมีเหตุผลในการควบคุมความเชื่อ ค่านิยม และ การวินิจฉัยอย่างมีเหตุผล ในอุดมคติของการคิดเอย่างมีวิจารณญานนั้น คือการเรียนรู้เพื่อคิดสำหรับตนเอง เพื่อจะได้รับคำสั่งหนึ่งของกระบวนการคิด อิสรภาพทางปัญญาไม่ได้นำมาซึ่งความจงใจ
ดื้อรั้น หรือการจลาจล มันสร้างความมุ่งมั่นในการคิดวิเคราะห์และการประเมินความเชื่อบนพื้นฐานของเหตุผลและหลักฐานที่ในการตั้งคำถามเมื่อมันคือเหตุผลที่จะเชื่อ
และเพื่อให้สอดคล้องเมื่อมันเป็นเหตุผล และ ความรู้

11 intellectual:


12 intellectual courage :ความต้องการที่จะเผชิญหน้าและประเมินผลความคิด,ความเชื่อหรือมุมมองที่เราไม่ได้ฟังอย่างจริงจังเนื่องมาจากความรู้สึกไม่ดีที่มีต่อผู้พูด
 ความกล้าหาญนี้เกิดขึ้นจากการรับรู้ว่าความคิดที่แปลกประหลาดและอันตราย
บางทีก็ดูสมเหตุสมผล   ดังนั้นข้อสรุปและความเชื่อที่ได้รับการสนับสนุนจากผู้คนรอบตัวเราหรือถูกพร่ำสอนมาแต่เด็ก
บางครั้งก็เป็นความเชื่อทีไม่ถูกต้องและทำให้เกิดการเข้าใจผิด  การจะกำหนดว่าอะไรเป็นอะไรด้วยตัวเองเราต้องไม่เชื่อสิ่งที่เรียนรู้มาอย่างง่ายๆและไม่มีวิจารณญาณ ความกล้าหาญทางสติปัญญาความรู้จึงจะเริ่มมีบทบาทตรงนี้เพราะท้ายที่สุดเราอาจพบว่าความเชื่อที่ดูแปลกประหลาดอันตรายและถูกบิดเบือนกลับถูกเชื่อถืออย่างแพร่หลายในวงสังคมของเรา

13 intellectual empathy:


14 intellectual humility (ความอ่อนน้อมถ่อมตนทางปัญญา)
: ตระหนักถึงข้อ จำกัดของความรู้ , รวมทั้งความไวต่อสถานการณ์ที่หลงตัวเอง และมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว
; มีความลำเอียงและอคติ และมีมุมมองที่จำกัด ความอ่อนน้อมถ่อมตนทางปัญญาจะมักรับรู้มากกว่าความเป็นจริง มันไม่ได้หมายถึงการอ่อนแอหรือความอ่อนน้อมแต่มันหมายถึงความพยายามทำให้ดูว่าตนเองสำคัญการโอ้อวด อวดดีหรือมีความเชื่อมั่นในความคิดใดความคิดหนึ่ง

15 intellectual integrity


intellectual perseverance:ความมุ่งมั่นทางปัญญา
คือ ความสมัครใจและความตระหนักรู้ คิดได้ มีความต้องการที่จะมีความเข้าใจทางปัญญา อย่างลึกซึ้งและความต้องการที่จะใฝ่หาความจริง ถึงแม้จะมีความยากลำบาก มีอุปสรรค หรือความผิดหวังก็ตาม มีความเชื่อมั่นอย่างแน่วแน่กับหลักการที่มีเหตุผล ยกเว้นแต่ว่า ความคิดตรงข้ามของคนอื่นที่ไม่เหตุผล มีความรู้สึกที่จะต้องการดิ้นรนต่อความสับสน ความไม่มั่นคงของคำถาม ที่ใช้ช่วงเวลานานกว่าจะเข้าใจได้ลึกซึ้งและให้ลุล่วงไปได้ ซึ่งคุณสมบัติแบบนี้ (ความมุ่งมั่นทางปัญญา) ถูกทำลายไป เมื่อคุณครูหรือคนอื่นคอยให้คำตอบตลอด นักเรียนควรคิดได้ด้วยตนเองแทน หรืออาจจะให้กลวิธีง่ายๆ ,ขั้นตอนวิธี หรือวิธีทางลัดแทน แล้วปล่อยให้นักเรียน คิดแบบพึ่งตนเองต่อไป.
17 intellectual sense of justice

18 intellectual virtues: คุณธรรมทางปัญญา
อุปนิสัย ของความคิดและบุคลิกที่จำเป็นสำหรับการกระทำและการคิดที่ถูกต้อง จำเป็นสำหรับการมีเหตุผลทางความคิดที่เป็นกลาง แยกจากความคิดที่เอนเอียง ทำให้คิดให้ตนเองได้อย่างเป็นกลางและเข้าถึงความจริง อุปนิสัยทางปัญญานี้เป็นการถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน แต่ละนิสัยจะพัฒนาได้ดีที่สุดในขณะที่พัฒนานิสัยอื่นไปด้วย นิสัยเหล่านี้ไม่สามารถสร้างขึ้นได้เองเปล่าๆ มันต้องอาศัยกำลังใจและตัวอย่าง ผู้คนสามารถเข้าใจอย่างลึกซึ้งและยอมรับหลักการได้จากการวิเคราะห์ ประสบการณ์ เรียนรู้จากมุมมองที่ไม่คุ้นเคย ค้นพบว่าเราไม่ได้รู้มากเท่าที่คิด เป็นต้น อุปนิสัยนี้รวมถึงความตระหนักของความยุติธรรม ความมุ่งมั่นทางปัญญา ความซื่อตรงทางปัญญา ความถ่อมตนทางปัญญา ความเอาใจใส่ทางปัญญา ความกล้าทางปัญญา ความมั่นใจในเหตุผล และความอิสระทางปัญญา

19 interpret/interpretation:ตีความหมาย /การแปลความหมาย
การให้คนคนหนึ่งมีแนวความคิดเป็นของตนเอง เกี่ยวกับสถานที่ ในหัวข้อหนึ่งๆ
ซึ่ง เป็นสิ่งที่เกิดได้จากประสบการณ์ของแต่ละคนต่างกันไป ทัศนียภาพ มุมมอง หรือ ปรัชญา และ การตีความควรจะแตกต่างจากข้อเท็จจริง หลักฐาน หรือสถานการณ์ (เราอาจจะตีความหมาย การเงียบของคนคนหนึ่ง เป็นเสมือนการแสดงความเป็นปรปักษ์ต่อเรา การตีความดังกล่าวอาจจะถูกหรือไม่ ถูกต้อง
เราอาจจะมีการคาดการณ์ตามบรรทัดฐานในแบบของเรา ซึ่งใช้ไปกับบุคคลนั้นๆ หรือเราอาจสังเกตเห็นได้จากการกระทำของบุคคลอื่น) การตีความที่ดีที่สุดจะ ใช้หลักฐานจำนวนมากอย่างเป็นเหตุเป็นผล นักคิดที่มีวิจารณญาณจะตระหนักถึงการตีความของพวกเขา แยกแยะการคิดตรึกตรองออกจากหลักฐานต่างๆ แต่ตระหนักถึงทาง เลือกอื่นๆที่หลากหลายในการจะตีความออกมา และพิจาณาใหม่ในการตีความหมายอีกแง่มุมหนึ่งจากหลักฐานใหม่ๆ ทุกๆการเรียน รู้นั้นมีความข้องเกี่ยวกับการตีความหมาย ของสิ่งต่างๆในแต่ละตัวบุคคล เพราะพวกเราเรียนรู้ที่จะรวมทุกอย่างมาสู่ความ คิดและการกระทำของเรา ซึ่งสิ่งที่เราเรียน เราจะเป็นผู้ให้ความหมายสิ่งนั้น สิ่งนั้นจะมีความหมายสำหรับเรา เพราะเหตุนี้นี่จึงเป็นส่วนหนึ่งของการตี ความที่เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตเรา การเรียนการสอนแบบพร่ำสอนที่พยายามจะปลูกฝังความรู้ไปยังจิตใจของผู้เรียน โดยตรง จึงเป็นการละเลยบทบาทของการตีความหมายของแต่ละคนในการเรียนรู้

20 intuition: การรู้ด้วยสัญชาตญาณการรู้ได้โดยตรงหรือการเรียนรู้บางสิ่งบางอย่างโดยปราศจากการตระหนักในด้าน
เหตุและผล , บางครั้งเราเหมือนจะรู้หรือเรียนรู้บางสิ่งโดยไม่ใช้การตระหนักว่าสิ่งนั้นมัน
มาได้อย่างไร เมื่อมันเกิดขึ้น    จากประสบการณ์เราใช้สัญชาตญาณที่เราเชื่อว่ามันถูกต้อง

ปัญหาคือบางครั้งเราก็ตัดสินใจถูกต้อง(จากประสบการณ์ที่แท้จริง)

และบางครั้งก็เกิด การผิดพลาด(มีเหยื่อผู้เคราะห์ร้ายจากอคติของเรา)
นักคิดเชิงวิจารณญาณจะไม่สุ่มสี่สุ่ม ห้ายอมรับว่าสิ่งที่เขาคิดหรือเชื่อว่าถูกต้องอย่างแน่นอน
เราจะสับสนจากสัญชาตญาณ และอคติ
นักคิดเชิงวิจารณญาณบางทีจะตัดสินจากสัญชาตญาณในบางสิ่งที่เป็นไปได้
แต่ต้องใช้สัญชาตญาณแห่งปัญญา อีกหนึ่งความรู้สึกที่สำคัญกับการคิดเชิงวิจารณญาณ
“การ พัฒนาทักษะทางความคิด จะส่งผลต่อการพัฒนาการคิดเชิงวิจารณญาณด้วย สัญชาตญาณ” ความรู้สึกที่เป็นสากลนี้นั้นเชื่อต่อกับหลักความเป็นจริงที่เราสามารถเรียน
รู้แนวความคิดที่หลากหลาย ถ้าเราไม่เรียนรู้อะไรนอกจากอะไรที่เป็นนามธรรม
และไม่เรียนรู้วิธีที่จะนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพในหลายสถานการณ์อาจจบลงที่ว่าไม่มี
การหยั่งรู้ไม่มีการปรับเพื่อนำไปใช้ เรามีความเข้าใจที่ไม่เพียงพอไม่ถ่องแท้
อย่างไร เมื่อไหร่ และเพราะเหตุใดถึงนำสิ่งๆนั้นไปใช้
การช่วยเหลือนักเรียนเพื่อพัฒนาการรู้ด้วย สัญชาตญาณจากการคิดเชิงวิจารณญาณ
จะทำให้พวกเขาเพิ่มประสบการณ์และเตรียม ความพร้อมไปพบเจอกับกรณีหรือสถานการณ์ต่างๆ
เราอยากให้การคิดเชิงวิจารณญาณ
เป็นการรับรู้ได้ด้วยสัญชาตญาณสำหรับนักเรียนสามารถเตรียมพร้อมรับมือและนำไปใช้ได้ทันท่วงทีในทุกๆความคิดทุกๆวันจากทุกประสบการณ์

21 irrational/irrationality:


22 irrational learning

 judgment:การตัดสิน


  1. การกระทำที่เป็นการตัดสินหรือตัดสินใจ
  2. ความสามารถในการเข้าใจและมีการรับรู้ที่ดี โดยบุคคลหนึ่งจะมีการตัดสินที่ดีได้เมื่อบุคคลนั้นตัดสินและตัดสินใจอย่างเป็นแบบแผนบนพื้นฐานของความเข้าใจและการรับรู้ที่ดี เมื่อใดก็ตามที่เราได้สร้างความเชื่อหรือความคิดเห็น ตัดสินใจสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือกระการใดๆลงไป เราได้ทำบนพื้นฐานของการตัดสินอย่างชัดเจนหรือโดยนัยเช่นกัน ทุกความคิดสันนิษฐานว่าการที่จะตัดสินนั้นเกี่ยวข้องกับอะไรเช่นนั้นและอะไรที่ไม่เป็นเช่นนั้น อะไรจริงและอะไรไม่จริง การที่จะพัฒนาความสามารถของคนในการคิดอย่างมีวิจารณญาณจะต้องสนับสนุนการตัดสินของบุคคลนั้น ช่วยเหลือบุคคลนั้นในการพัฒนาลักษณะนิสัยการตัดสินบนพื้นฐานของเหตุผล หลักฐาน ตรรกะ และการรับรู้ที่ดี การตัดสินที่ดีนั้นจะต้องเกิดจากการพัฒนาปรับปรุง ไม่ใช่เพียงจากการศึกษาหลักทฤษฎีเท่านั้น แต่จะต้องเกิดจากการฝึกฝนตัดสินและประเมินการตัดสินอย่างสม่ำเสมอด้วย
Justify / Justification
การให้เหตุผล : เป็นการกระทำเพื่อแสดงถึงความเชื่อ ความคิดเห็น พฤติกรรม หรือนโยบายเพื่อให้เป็นที่ยอมรับด้วยเหตุผลและหลักฐาน เพื่อให้เป็นที่ยอบรับที่ถูกต้อง หรืออาจจะทั้งสองอย่าง การศึกษาควรเอาใจใส่เรื่องความมีเหตุมีผลของผู้เรียน ซึ่งต้องการการพัฒนาวิสัยทั้งของครูผู้สอนและตัวผู้เรียนสำหรับการขอและให้การให้เหตุผลสำหรับความเชื่อ ความคิดเห็น พฤติกรรม และนโยบาย การร้องขอการให้เหตุผลไม่ควรมีมุมมองในทางดูถูกหรือโจมตีแทนการแสดงในแบบบุคคลที่มีเหตุผลธรรมดาทั่วไป วิธีการสอนในการเรียนการสอนไม่ควรสนับสนุนให้ผู้เรียนถือสิทธิความล้มเหลวเพื่อพัฒนาบริบทแวดล้อมในการตั้งคำถามการให้เหตุผลสำหรับเรื่องอะไรก็ตามที่นำมาสู่การเรียนการสอน 

25 Know การรับรู้ ทราบ – คือความเข้าใจและความชำนาญ, ความแน่นอนถูกต้องแม่นยำ,มีความเข้าใจที่ถึงเนื้อหาของข้อมูล ; informationข้อมูลหรือเนื้อหานั้นเกิดอาจจะเกิดจากการหลายๆด้าน เช่น อ่าน การฟัง การสังเกตและอื่นๆ และในบางครี่งอาจจะไม่ได้ถูกต้องแม่นยำ ;  Knowlegde  - ความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกรวบรวมมาจากหลายๆที่ ที่เกิดจากการเรียนรู้ การสังเกตและอื่นๆ แม้กระทั้งเป็นแนวความคิดที่ถูกสรุปจากข้อเท็จจริงมาแล้วซึ่งมีความหมายถึงความเข้าใจ(understanding)ในเนื้อหาหรือความรู้นั้นๆ  นักคิดเชิงวิจารณญาณต้องแยกแยะให้ออกว่าข้อมูลไหนคือจริงหรือเท็จ,เป็นเพียงแค่ความคิดเห็นหรือความเชื่อ

26 knowledge:


27 logic หตุผลตามหลักตรรกวิทยา
     การมีเหตุผลที่ถูกต้อง หรือ การศึกษาเหตุผลที่ถูกต้องและพื้นฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างโจทย์ ( สิ่งสนับสนุน สันนิษฐาน, แสดงนัยยะ, สิ่งที่แย้งกัน,โต้แย้งกัน, เกี่ยวข้องกับ.........) ระบบของหลักการ, ความคิด, และสันนิษฐาน ชึ่งเป็นรากของระเบียบ, การกระทำ หรือ การปฎิบัติ  ชุดการพิจารณาอย่างมีเหตุผลชึงมีความสัมพันธ์กับความจริงหรือความเชื่อ หรือชุดของความเชื่อ ชุดของการพิจารณาอย่างมีเหตุผลขึ้นอยู่กับการกำหนดคำถามหรืดชุดคำถาม
      คำว่า “เหตุผลทางตรรกวิทยา” ครอบคลุมสิ่งที่เกี่ยวข้องทั้งหมดของคำถามของความมีเหตุผลที่ยุติธรรมและสามารถอธิบายได้ ความคิดและพฤติกรรมชองมนุษย์ทั้งมวล มีกรอบที่ขึ้นอยู่กับตรรกะมากกว่าสัญชาตญาน มนุษย์พยายามใช้ความคิด, ความหมาย, และสิ่งนึกคิด, พฤติกรรมที่ฉลาดเช่นนั้น แน่นอนที่สุดที่จะต้องเกี่ยวกับ “ตรรก” หรือการพิจารณาถึงหลักของเหตุผล ความรู้สีกถึงความเหมือนหรือความไม่เหมือน, อะไรที่สนับสนุน หรือสิ่งที่ไม่เห็นด้วย กับสิ่งที่เราควรหรือไม่ควรที่จะสันนิษฐาน กับสิ่งที่เราควรเรียกร้องหรือไม่เรียกร้อง กับสิ่งที่เรารู้และไม่รู้ กับสิ่งที่มีนัยและไม่มีนัย กับสิ่งที่แย้งกัน 
เห็นด้วย และกับสิ่งที่เราควรเชื่อถือได้และไม่ควรเชื่อถือ เป็นต้น
     ความคิดชึ่งมีตรรกะที่เราสามารถตรวจสอบภาวะภายใต้การมีนัยและไม่มีนัย ชึ่งมีความเหมือนและไม่เหมือนต่อเขา ชึ่งจะมีนัยหรือไม่มีนัย และอื่นๆ  คำถามที่มีตรรกที่เราสามารถตรวจสอบภาวะภายใต้ที่ชึ่งสามารถกำหนดได้ ระเบียบวินัยชึ่งมีตรรกที่เขามีจุดประสงค์และชุดของโครงสร้างที่มีตรรกที่สนับสนุนความประสงค์, สันนิษฐาน, ความคิด, ประเด็น,ข้อมูล,ทฤษฎี, การอ้างอิง, ข้อบ่งชี้, ความต่อเนื่อง และอื่นๆ
     ตรรกะความคิดเป็นเรื่องทางอารมณ์ของการคิด ชึ่งใช้ระยะเวลาค่อนข้างยาวก่อนที่มนุษย์จะรู้สึกผ่อนคลายกับการใช้อารมณ์ต่างๆกัน ในส่วนหนึ่ง เนื่องจากผู้คนล้มเหลวในการควบคุมความคิดของตนเองให้อยู่ในมาตรฐานของเหตุผลและตรรก สิ่งนี้ไม่อาจปฎิเสธได้ว่าตรรกเกี่ยวข้องกับความคิดทั้งหมด
ของมนุษย มันสามารถกล่าวได้ว่า์ตรรกที่เราใช้อยู่นี้มีนัย, ไม่แสดงออก, และบางครั้งขัดแย้ง ส่วนความรู้ การเรียนสูงหรือตำ่, เหตุผลของวินัย, ตรรกของภาษา, ตรรกของคำถาม



28 the logic of a discipline:


เหตุผลของกฎระเบียบ: แนวความคิดทุกๆอย่างทางเทคนิคจะมีความสัมพันธ์ที่เป็นเหตุเป็นผลระหว่างกัน บางคราวอาจจะมีการใช้เหตุผลมากกว่าตรรกะอื่นๆ และทุกๆกฎระเบียบจะขึ้นอยู่กับแนวคิด,ข้อสมมุติฐาน และทฤษฎี สร้างข้ออ้าง ให้เหตุผลและหลักฐาน หลีกเลี่ยงสิ่งที่ขัดแย้งและความไม่แน่นอน มีความหมายโดยนัยและผลกระทบ
แม้ว่านักเรียนทุกคนจะเรียนรู้ถึงกฎระเบียบ แต่ส่วนใหญ่มักจะไม่ใส่ใจกับเหตุผลของกฎระเบียบที่ได้เรียนมา สิ่งนี้จะจำกัดความสามารถของพวกเขาสาหัสที่จะเข้าใจในระเบียบทั้งหมด ที่จะคิดอย่างอิสระ ที่จะเปรียบเทียบและสร้างความแตกต่างกับระเบียบอื่นๆ และที่จะประยุกต์ใช้กับบริบทที่นอกเหนือจากงานที่มอบหมายในสถาบันการศึกษา อย่างที่รู้กันทั่วไปในปัจจุบัน นักเรียนไม่ได้มองหาสิ่งที่บรรลุผลเท่าที่พวกเขาได้เรียนมา พวกเขาไม่ได้มุ่งมั่นที่จะตีความคำศัพท์ทางเทคนิค ให้เป็นการเปรียบเทียบและคำธรรมดาที่พวกเขาเข้าใจและแยกแยะคำทางเทคนิคออกจากการใช้คำธรรมดา พวกเขาไม่มองหาข้อสมมุติฐานเบื้องต้นของกฎระเบียบที่เขาได้เรียนมา จริงๆแล้วในทั้งหมด พวกเขาไม่ทราบว่าข้อสมมุติฐานคืออะไรและไม่รู้ว่ามันสำคัญที่จะไต่ถามไปทำไม
สิ่งที่พวกเขาคิดอยู่ตลอดมีแค่เช่นโทรศัพท์มือถือที่อยู่ในกระเป๋า ไม่ว่าใครๆคิดสนับสนุนหรือทำตามคนอื่นๆ การเป็นตัวอย่าง การตั้งสมมุติฐานล่วงหน้า หรือ การขัดแย้งกัน เป็นสิ่งที่นักเรียนไม่ได้เรียนรู้ที่ใช้ความคิดในการที่จะเข้าใจในความคิด จะมีทางไหนที่จะบอกว่าพวกเขาไม่ได้เรียนรู้ว่าการใช้ความคิดนำมาซึ่งการได้ความรู้อย่างไร การศึกษาทางความคิดเชิงวิจารณญานปลูกฝังความสามารถของนักเรียนที่จะสร้างความชัดเจนในเหตุผลของสิ่งที่พวกเขาเรียนอยู่ สิ่งนี้เน้นถึงความลึกซึ้งและความกว้างขวางในการศึกษาและเรียนรู้ มันเป็นดั่งหัวใจของความแตกต่างระหว่างลำดับการเรียนที่สูงกว่าหรือต่ำกว่า

 
29 the logic of language
ตรรกะ ของภาษา เพื่อที่ภาษาจะยังคงอยู่และสามารถเรียนรู้ได้โดยผู้คนจากวัฒนธรรมที่แตกต่าง กัน ภาษาจำเป็นที่คำมีการใช้ที่แน่นอนและมีแนวความคิดชัดเจนซึ่งอยู่เหนือกว่า วัฒนธรรมจำเพาะ ยกตัวอย่างเช่นภาษาอังกฤษ สามารถเรียนรู้ได้โดยผู้คนมากมายทั่วโลกที่ไม่คุ้นเคยกับภาษาอังกฤษหรือ วัฒนธรรมของอเมริกาเหนือ นักคิดอย่างมีวิจารณญาณต้องเรียนรู้ที่จะใช้ภาษาท้องถิ่นของพวกเขาอย่างถูก ต้อง เพื่อรักษาการใช้ภาษาทางการศึกษา เป็นที่น่าเสียดายที่นักเรียนมากมายไม่สามารถเข้าใจความสัมพันธ์สำคัญ ระหว่างความถูกต้องในการใช้ภาษาและความถูกต้องในการคิด ตัวอย่างเช่นเราพิจารณาว่านักเรียนส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับภาษาท้องถิ่นของพวก เขา ถ้ามีใครสักคนถามพวกเขาเกี่ยวกับความหมายของคำศัพท์ คำอธิบายของพวกเขาโดยปกติก็จะไม่ต่อเนื่องกัน พวกเขามักจะบอกว่าผู้คนแต่ละคนมีความหมายที่แตกต่างกันในคำที่ใช้ โดยไม่ได้สังเกตว่าพวกเราไม่สามารถเข้าใจกันเอง นักเรียนพูดและเขียนในประโยคที่คลุมเครือเพราะว่าพวกเขาไม่มีเกณฑ์ที่มี เหตุผลสำหรับการเลือกคำ พวกเขาเพียงแค่เขียนคำอะไรก็ได้ที่ผุดขึ้นมาในหัว พวกเขาไม่สามารถรู้ตัวว่าทุกภาษามีตรรกะที่สละสลวยมากที่คนต้องเรียนรู้ เพื่อที่จะแสดงความคิดได้อย่างตรงไปตรงมา พวกเขาไม่รู้ตัวว่าแม้แต่คำที่คุ้นเคยความหมาย ธรรมดาแล้วจะมีความหมายโดยนัย ยกตัวอย่างเช่นคำว่า explain, explicate, elucidate, interpret และ construe Explain (อธิบาย) แสดงนัยถึงกระบวรการของการทำให้กระจ่างและเข้าใจได้ดี ไม่ใช่แค่เข้าใจหรือรู้ Expound (ชี้แจง) แสดงนัยถึงการอธิบายอย่างสมบูรณ์และเป็นระบบ โดยปกติแล้วกระทำโดยผู้เชี่ยวชาญ Explicate (แจกแจง) แสดงนัยถึงการวิเคราะห์เชิงวิชาการที่พัฒนาในรายละเอียด Elucidate (ไขความ) แสดงนัยถึงการการค้นพบโดยภาพประกอบและคำอธิบายที่ชัดเจนและเฉพาะเจาะจง Interpret (ตีความ) แสดงนัยถึงการนำออกมาของความหมายที่ไม่ได้แจ่มชัดในทันที Construe (วิเคราะห์ ตีความ หรืออนุมาน) แสดงนัยถึงการตีความเฉพาะเจาะจงของบางสิ่งที่มีความหมายกำกวม

30 the logic of questions:ขอบ เขตทางการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล ซึ่งมีผลต่อการก่อเกิดคำถาม Critical thinkerควรมีความสามารถในการวิเคราะห์คำถาม เพื่อที่จะตัดสินใจว่าสิ่งใดสมควรที่จะถามและตั้งคำถามนั้นอย่างเหมาะสม  Critical thinkerต้องรู้ความแตกต่างของคำถามแต่ละประเภท โดยอาศัยวิธีการคิด พิจารณาหรือขั้นตอนที่แตกต่างกัน  Uncritical thinkerมักจะสับสนในคำถาม และขาดการพิจารณาที่ตรงประเด็นและละเลยประเด็นที่เกี่ยวข้อง

31 lower order learning การ เรียนรู้ด้วยการท่องจำ การคิดเชื่อมโยง และการฝึกฝน  ในโรงเรียนมีวิธีการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานนี้หลากหลายรูปแบบซางสามารถระบุได้ โดยการทำความเข้าใจความขาดแคลนของการเชื่ ยมโยงข้อมูลด้วยระการใช้เหตุผล การเรียนรู้ขั้นพื้นฐานต้องอาศัยการท่องจำและเชื่อมโยง ดังนั้นนักเรียนจึงต้องเรียนวิชาประวัติศาสตร์เพื่อฝึกฝน เช่น การจำสถานที่ ชื่อ วันที่ เหตุการณ์ คณิตศาสตร์ก็เป็นอีกหนึ่งวิชาที่ช่วยในการฝึก เช่น การเรียนเรื่องตัวเลข สัญลักษณ์ และการคิดจัดการแก้โจทย์ปัญหาด้วยการใช้สูตรโดยมีอาจารย์เป็นผู้ช่วยให้ เด็กๆเดินไปสู่คำตอบที่ถูกต้อง
ส่วนวรรณคดีมักถูกมองว่าเป็น วิชาที่น่าเบื่อหน่ายที่จะจำสิ่งที่อาจารย์พร่ำบอกว่าเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นนักเรียนจึงออกจากห้องเรียนไปพร้อมกับความสับสนของความรู้ที่ไม่ได้ ย่อย และพวกมันจะถูกกอบกู้ขึ้นมาเพื่อใช้ในการสอบหลังจากที่พวกเขาลืมความรู้ทั้ง หมดที่เคยมีอยู่ในความทรงจำระยะสั้น อย่างแท้จริงแล้วพวกเขาแทบไม่เคยเข้าใจตรรกะของสิ่งที่พวกเขาเรียนรู้ พวกเขาแทบจะไม่เคยลองใช้สิ่งที่เรียนมาประยุกต์กับชีวิตประจำวัน พวกเขาแทบจะไม่เคยถามว่า “ทำไมถึงเป็นดังนั้น หรือ สิ่งนี้สัมพัน์กับสิ่งที่ฉันเคยเรียนรู้อย่างไร หรือ สิ่งนี้สัมพันธ์กับสิ่งที่ฉันเรียนในวิชาอื่นอย่างไร”
อย่างตรง ประเด็น คือ มีนักศึกษาน้อยมากที่คิดว่าสิ่งที่พวกเขากำลังเรียนรู้ มีคุณค่าของในการจัดการความมีเหตุมีผลในจิตใจของพวกเขา หรือ อย่างน้อยก็มีความคิดที่จะจัดการกับมัน เรียนรู้จากอุทาหรณ์สอนใจ ปัญหา และความคิด

32 monological (one-dimensional) problems: คำถามตรงไปตรงมา (คำถามคำตอบเดียว) ปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ด้วยเหตุผลเฉพาะซึ่งอยู่ภายในหนึ่งมุมมองหรือกรอบโครงสร้างของการอ้างอิง ตัวอย่างเช่นการพิจารณาปัญหาต่อไปนี้
1. ลังใส่วอลนัท 10ลังมีน้ำหนัก 410ปอนด์ ในขณะที่ลังเปล่ามีน้ำหนัก 10ปอนด์ ลูกวอลนัทอย่างเดียวหนักเท่าไหร่?
2. ในหนึ่งอาทิตย์มีกี่วันที่มีตัวอักษรตัวที่สามของชื่อวันเรียงถัดมาจากตัวอักษรตัวแรกของชื่อวันตามพญัยชนะ
ปัญหาเหล่านี้และวิธีที่จะสามารถแก้ปัญหานั้นเรียกว่า “คำถามที่ตรงไปตรงมา” คำถามเหล่านี้จะตั้งอยู่ในกรอบโครงสร้างของการอ้างอิงพร้อมกับกลุ่มของตรรกะ เมื่อกลุ่มตรรกะของความคิดเหล่านั้นทำงานก็จะสามารถแก้ปัญหาได้ โดยที่คำตอบหรือวิธีการคิดสามารถแสดงได้ด้วยวิธีกรอบโครงสร้างของความเป็น จริงอย่างไม่ต้องสงสัยว่าจะเป็นคำตอบหรือวิธีการที่ “ถูกต้อง”

33 monological (one-dimensional) thinking:ความ คิดด้านเดียว (ความคิดหนึ่งมิติ ) : ความคิดที่กลั่นกรองออกมาภายในมุมมองเดียวหรือกรอบทางความคิดเพียงอันเดียว เช่่น คิดว่ารองเท้าราคาคคู่ละ 67.49 เหรียญจะมีราคาเท่าไหร่เมื่อลด 25% คิดว่าเมื่อเซ็นสัญญานี้แล้วฉันจะสามารถทำอะไรได้บ้าง ทราบว่าเคนเนดี้ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี เป็นต้น ซึ่งคนเราจะสามารถคิดในมิติเดียวได้ทุกเมื่อ หากคำถามนั้นเป็นคำถามที่มีคำตอบตายตัวอย่างแท้จริง (แต่คนเรามักจะเอาแนวคิดแบบนี้ไปใช้กับคำถามปลายเปิด อาทิ หากไปถามชาวอเมริกันฝ่ายเหนือ ว่าใครเป็นผู้ก่อสงครามกลางเมือง แน่นอนว่าคำตอบจะต้องเป็นฝ่ายใต้) นักคิดเชิงวิจารณญาณจะต้องหลีกเลี่ยงการคิดหนึ่งมิติ หรือความคิดด้านโดยเดียวโดยเด็ดขาด เมื่อคำถามที่ได้รับมามองได้หลายมุม นอกจากนั้น การเรียนรู้ชั้นสูงต้องการความคิดที่เปิดกว้าง แม้จะใช้ในการตอบคำถามปลายปิด (เช่น การเรียนในเรื่องแนวความคิด ในวิชาเคมี) เพราะเราจะต้องค้นหาและใช้ความเชื่อเดิมของตนเองในการพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ แล้วให้เป็นแนวความคิดใหม่ๆ อยู่เสมอ


34 multilogical (multi-dimensional) problems  ปัญหาที่สามารถวิเคราะห์และเข้าถึงจากมากกว่าหนึ่งทางมักจะมาจากความขัดแย้ง,มุมมอง หรือ กรอบอ้างอิง
ตัวอย่างเช่นปัญหาระบบนิเวศจำนวนมากมีมิติที่แตกต่างกันมากมาย เช่น ประวัติศาสตร์,สังคม,เศรษฐกิจ,
เคมี, ชีววิทยา, ศีลธรรม, การเมือง ฯลฯ

คน ที่คิดกว้างๆเกี่ยวกับปัญหาที่มีหลายเหตุผล คือ คิดกว้างๆภายในหลายๆมุมมอง,การคิดอภิปราย และ คิดโต้แย้ง ,คิดที่จะฝึกฝนที่จะทำความเข้าใจในการคิดข้ามสาขาและคิดข้ามขอบเขตของความ รู้ตน ดูข้อมูลจากปัญหาเชิงเดี่ยว, เหตุผลของคำถาม,เหตุผลของแต่ละสาขาวิชา,ทำความเข้าใจทางปัญญา,การอภิปรายคำ แนะนำ


35 multilogical thinking:


36 national bias:

37 opinion

38 perfections of thought



การคิดที่สมบูรณ์แบบ การคิดที่พยายามจะเข้าใจโลกในแบบที่มันเป็น ถือเป็นสิ่งที่ดีที่สุด สิ่งที่ดีในที่นี้กล่าวได้คือ ความกระจ่างชัด ความแม่นยำ ความจำเพาะเจาะจง ความถูกต้อง ความเกี่ยวข้อง ความมั่นคง ความมีตรรกะ ความลึก ความสมบูรณ์แบบ ความสำคัญ ความเป็นธรรม และความพอเพียง ความสมบูรณ์แบบเหล่านี้เป็นหลักการทั่วไปสำหรับความคิด
เพื่อพัฒนาจิตใจของคนและวินัยที่เกี่ยวข้องกับความต้องการพื้นฐานที่กว้างขวางนี้ต้องใช้ระยะเวลายาวนาน แน่นอนว่าการที่จะทำให้ประสบความสำเร็จได้นั้นขึ้นอยู่กับความคิดที่ต่างกันของแต่ละบุคคล ความแม่นยำเกิดขึ้นขณะที่ทำเกี่ยวกับเลขคณิตไม่เหมือนกันกับความแม่นยำที่เกิดขึ้นในขณะที่แต่งกลอน อธิบายเกี่ยวกับประสบการณ์ หรือเล่าถึงเหคุการณ์ในอดีต
นอกจากนี้ ความสมบูรณ์แบบทางความคิดอาจมีการขัดแย้งกันกับผู้อื่นเป็นระยะๆ เวลาและทรัพยากรเพียงพอที่จะวิเคราะห์คำถามหรือปัญหาอย่างถี่ถ้วนมักจะเป็นของมีค่าที่ไม่สามารถหาซื้อได้ บ่อยครั้งที่โลกมนุษย์มักจะไม่มีเหตุผลและไม่ยุติธรรมเนื่องจากคนมักจะเลือกทำในสิ่งที่มีผลประโยชน์ต่อตนเอง และเนื่องจากทักษะความคิดมักจะประเมินส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งความคิดแบบยี้เองที่จะไปบดบังทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการมีความคิดที่ดี ทักษะการโฆษณาชวนเชื่อ ทักษะการอภิปรายทางการเมือง ทักษาการ้องกันผลประโยชน์ของกลุ่ม และทักษะการหลอกลวงศัตรู อาจมาแทนที่ทักษะพื้นฐานก็เป็นได้
ความคิดที่สมบูรณ์แบบเป็นเหมือนอุปกรณ์สำหรับความสำเร็จในโลกบนพื้นฐานของอำนาจและความได้เปรียบ เพื่อที่จะพัฒนาความคิดเชิงวิจารณญานให้เพียงพอต่อความสำเร็จทางสังคมนั้น คือการควบคุมทักษะที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของตัวเองนั้นให้ต่ำลง


39 personal contradiction

40 perspective (point of view):ทัศนคติ:
ความ คิดของมนุษย์เป็นความสัมพันธ์และการคัดเลือก มันเป็นไปไม่ได้ที่จะเข้าใจบุคคลใดเหตุการณ์หรือการปรากฏการณ์จากจุดได้ เปรียบทุกพร้อมกัน วัตถุประสงค์ของเรามักจะควบคุมวิธีการที่เราเห็นสิ่งที่ การคิดเชิงวิพากษ์ต้องการให้ความจริงนี้จะถูกนำเข้าบัญชีเมื่อการวิเคราะห์ และการประเมินการคิด นี้ไม่ได้ที่จะบอกว่าคิดของมนุษย์มีความสามารถในความจริงและความเที่ยงธรรม แต่ความจริงที่มนุษย์วัตถุและความเข้าใจเป็นจริงเสมอ จำกัด และบางส่วนแทบไม่ทั้งหมดและแน่นอนวิทยาศาสตร์ยากที่ตัวเองเป็นตัวอย่างที่ดี ของจุดนี้เนื่องจากความเป็นจริงที่มีคุณภาพจะถูกละเลยอย่างเป็นระบบในความโปรดปรานของความเป็นจริงในเชิงปริมาณ

1 precision:



ความแม่นยำ : คือคุณภาพของความถูกต้อง , ความชัดเจนและความแน่นอน ซึ่งมาตรฐานและแนวทางของความแม่นยำนี้จะแตกต่างกันตามประเด็นและบริบทของเรื่องนั้นๆ ทำให้มองเห็นตรรกะของภาษาและองค์ประกอบของความคิด


2 prejudice
อคติ: การตัดสินความเชื่อจากมุมมองของตน - ชอบหรือไม่ชอบ - ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นก่อนที่จะเป็นที่รู้จักกัน มีความทนทานต่อหลักฐานและเหตุผลในการไม่นำพาให้เห็นข้อเท็จจริงที่ขัดแย้ง กัน การอคติกับตนเองเป็นสิ่งที่ยาก ความอยุติธรรมเกือบตลอดเวลาที่มีอยู่บดบังความจริง, การตรวจสอบทางสังคมในรูปแบบการทำงาน ซึ่งจะช่วยให้คนที่จะนอนหลับอย่างสงบในเวลากลางคืนแม้ในขณะที่ปกติดูถูก สิทธิของผู้อื่น ซึ่งจะช่วยให้คนที่จะได้รับเพิ่มเติมจากสิ่งที่พวกเขาต้องการได้รับมันได้มา อย่างง่ายขึ้น 

 หากเราตระหนักถึงแนวโน้มที่มีประสิทธิภาพเหล่านี้ไปสู่ความคิดที่เห็นแก่ตัวในสถาบันทางสังคมของเราแม้ในสิ่งที่ดู เหมือนจะเป็นการกระทำที่สูงส่งและสำนวนของเชื่อมั่นในศีลธรรม เราจะไม่เผชิญกับปัญหาอย่างเต็มที่จากอคติในความคิดและการกระทำของมนุษย์ การเห็นแก่ตัวมักนำไปสู่ความอคติ



การ เรียนการสอนในโรงเรียนในวันนี้เพราะนักเรียนไม่คิดว่าวิธีการของพวกเขากับ สิ่งที่พวกเขายอมรับความจริงว่า มีแนวโน้มที่จะให้นักเรียนได้มีอคติมากกว่าความรู้ ตัวอย่างเช่นส่วนหนึ่งเป็นผลของการศึกษา คนมักจะยอมรับว่าเป็นเจ้าหน้าที่ตำแหน่งของพวกเขาเหล่านั้นที่กว้างขวางโรย งบของพวกเขากับตัวเลขและภาษาทางปัญญาที่ฟังดูแปลก แต่ไม่มีเหตุผลหรือไม่เป็นธรรม อคติที่มีต่อผู้มีอำนาจเทียม ขัดขวางการประเมินเหตุผล และการดูข้อมูลเชิงลึก


3 premise
ข้อเสนอ สนับสนุนการสรุปสมมุติฐาน เป็นจุดเริ่มต้นแรกของเหตุผล ตัวอย่างเช่น อาจมีคนมาถามเราว่าข้อสนับสนุนของข้อความที่ว่านี้ “ไม่ว่าจะทำสิ่งใดๆทุกคนก็จะเห็นแก่ประโยขน์ส่วนตัว” คืออะไร มีข้อสมมุติฐานใดที่สามารถนำไปสู่คำ ตอบได้


4 principle หลัก การ: ความจริงพื้นฐาน กฎหมาย  หลักคำสอน  มูลค่าหรือความมุ่งมั่น ตามที่สิ่งอื่น ๆเป็นพื้นฐาน  กฎระเบียบที่มีความเฉพาะเจาะจงมากขึ้นและผิวเผินและโดยพลการในบ่อยครั้ง จะขึ้นอยู่กับหลักการ กฎระเบียบที่มีขั้นตอนมากขึ้น กฎเหล่านี้ไม่จำเป็นในการถูกเข้าใจที่จะปฏิบัติตาม หลักการจะต้องเข้าใจที่จะนำมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม หลักการไปที่หัวใจของเรื่อง การคิดเชิงวิพากษ์จะขึ้นอยู่กับหลักการ  ไม่ใช่หลักเกณฑ์และวิธีการ การคิดเชิงวิพากษ์เป็นหลักการ ไม่ใช่ขั้นตอนการคิด หลักการไม่สามารถผิดอย่างแท้จริงผ่านการเรียนการสอนเกี่ยวกับการสอน  หลักการจะต้องได้รับการฝึกฝนและนำไปใช้จะถูกฝัง  ในการเรียนรู้ที่สูงขึ้น  การเรียนรู้ที่ต่ำลง การตัดสิน

5 problem

6 problem-solving การ แก้ปัญหา : เมื่อใดก็ตามที่ไม่มีสูตรตายตัวหรือเครื่องจักรกลมาช่วยแก้ปัญหา ความคิดเชิงวิจารณญาณจะกลายมาเป็นสิ่งจำเป็นในการกำหนดธรรมชาติและระดับของ ปัญหา เพื่อหาทางแก้ โดยใช้มุมมอง แนวความคิด ทฤษฎี ข้อมูลข่าวสาร และการให้เหตุผลมาเป็นตัวช่วย และการฝึกฝนการแก้ปัญหาโดยไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่นนั้นเป็นสิ่งสำคัญที่ต้อง พัฒนา เพราะการแก้ปัญหานั้นมีน้อยนักที่จะทำได้โดยไม่มีกระบวนการหรือลำดับขั้นตอน อย่างเช่น สิ่งแรกที่ควรทำคือการหาปัญหาที่แท้จริง ซึ่งจะเป็นไปได้ยากมากหากปราศจากการวิเคราะห์ข้อมูล รวบรวมหลักฐาน และใช้ความคิดเชิงตรรกะหรือเฉพาะทางในการหาคำตอบของปัญหาต่างๆให้พบ

7 proof (prove) หลัก ฐานหรือการพิสูจน์ : หลักฐานหรือการมีเหตุผลที่เข้มแข็งมากพอ หรือ แน่ชัดที่จะแสดงความจริงหรือการสามารถยอมรับบทสรุปโดยไม่มีข้อสงสัยที่สม เหตุสมผล ความแข็งแรงของหลักฐานหรือเหตุผลที่ถูกแสดงหรืออ้างถึง จะแปรเปลี่ยนได้จากบริบทต่อบริบท ขึ้นอยู่กับความโดดเด่นของการสรุป หรือ ความหมายโดยนัยที่เข้มข้นตามมา ดูจากขอบเขตของความคิด
 
8 rational/rationality
ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของการให้เหตุผลที่ดี เหมาะสม และแสดงให้เห็นถึงการตัดสินใจที่ดี มีความสอดคล้องกับตรรกะที่สมบูรณ์และมีความเกี่ยวข้องกับคำที่เป็นเหตุเป็นผล เช่น "คุณธรรม" หรือ "ความดี" เป็นที่ประจักษ์ในหลากหลายวิธีการและขึ้นอยู่กับโฮสต์ของหลักการ มีความกำกวมบางอย่างคือ ขึ้นอยู่กับว่าใครคิดเพียงแค่ ตรรกะและประสิทธิผลโดยที่คนหนึ่งแสวงหาจุดสิ้นสุดของตนเอง หรือไม่ว่าจะมีการประเมินผลการสิ้นสุดของตัวเอง นอกจากนี้ยังมีความกำกวมในการพิจารณาว่า ท้ายสุดแล้วความเห็นแก่ตัวจะมีเหตุผล ในขณะที่พวกเขาขัดแย้งกับสิ่งที่เป็นเพียงแค่นั้น คนที่มีเหตุผลจะเป็นเพียงหรือเฉพาะคนมีฝีมือในการใฝ่หาผลประโยชน์ของตน? มันมีเหตุผลที่จะมีเหตุผลในโลกไม่มีเหตุผล

9 rational emotions/passions อารมณ์ความรู้สึกที่มีเหตุผล 
R.S. Peters ได้อธิบายความสำคัญด้านอารมณ์ของเหตุผลและความคิด และการป้องกันเขาจากความคิดอารมณ์เหตุผล มีตัวอย่างเช่น ความเกลียดชัง ความขัดแย้ง และความไม่สอดคล้องกันกับความรักที่หนักแน่นและความเกลียดชังที่สับสน ที่ไม่สามารถหาคำพูดมาอธิบายได้ คนที่มีเหตุผลจะไม่มีทางเห็นความเอนเอียง หรือความสับสนกับความคิดได้  
เหตุผลเป็นสิ่งตรงข้ามกับความเด็ดขาด ในแง่ของกระบวนการของมันเองเป็นสิ่งที่ส่งผลให้เกิดความเหมาะสมไม่เกิดความ คิดที่เป็นลบ ความเกลียดชัง วิงวอน และการบันดาลอารมณ์ ถูกพัฒนามาจากความคิดที่เป็นลบ และจะส่งผลต่อบรรยากาศของคนรอบข้าง ในความคิดเชิงบวก จะเป็นความคิดที่เป็นธรรมและทำให้บรรยากาศเบาบางลง
คนๆ หนึ่งจะถูกชักจูงโดยข้อโต้แย้งและการตัดสินใจ เขาจะต้องมีความรู้สึกส่วนตัว โดยควรจะคิดที่รู้จักให้อภัยและเคารพต่อความคิดคนอื่น แต่ต้องมีความคิดวิจารณญาณของตัวเองว่าสิ่งๆนั้นถูกต้องหรือไม่ ถึงจะเรียกว่าเป็นคนที่มีความคิดเป็นเหตุเป็นผล

10 rational self การมีเหตุผลในตนเอง โดยคุณลักษณะ และ ธรรมชาติของเรานั้นจะมีพื้นฐานความเชื่อและการกระทำในการให้เหตุผลที่ดีและหลักฐานว่า
เราเป็นใคร นิสัยที่แท้จริงของเราคืออะไร โดยคุณสมบัติที่โดดเด่นของเรามีอยู่เสมอ แม้กระทั่งความแตกต่างจากสิ่งที่เราเป็น
ลักษณะการหลงตัวเองของมนุษย์ประกอบกับการหลอกลวงตัวเองมักจะช่วยให้เข้าใจตัวเรามากขึ้น
เราสามารถพัฒนาตัวเองให้มีเหตุผล และ กลายเป็นคนที่ได้รับข้อมูลเชิงลึกที่สำคัญเป็นนิสัย
เพียงลดการหลงตัวเองและหลอกลวงตัวเอง การคิดอย่างมีวิจารณญาณเป็นสิ่งจำเป็นต่อกระบวนการนี้

11 rational society


12 reasoned judgment :ความเชื่อหรือข้อสรุปที่ได้มาจากพื้นฐานการคิดอย่างรอบคอบ  แตกต่างจากความคิดเห็นที่เบาบางไร้ซึ่งเหตุผล
น้อยคนนักที่จะรู้ตัวว่าความเชื่อของตนนั้นมาจากการตัดสินอย่างมีเหตุผลหรือมาจากข้อคิดเห็นส่วนตัว 
คำถามทางคุณธรรมและศีลธรรมเป็นคำถามที่ต้องการคำตอบที่เกิดจากการตัดสินด้วยเหตุผล ทางหนึ่งที่จะสามารถเข้าใจสาระสำคัญของการศึกษาได้
นั้นคือต้องพัฒนาความสามารถในการใช้เหตุผลตัดสินของนักเรียนควบคู่ไปกับมาตรฐานการเรียนการสอนของแต่ละวิชา

13 reasoning


14 reciprocity (การพึ่งพาอาศัยกัน) : การกระทำที่มีความเข้าใจความรู้สึกผู้อื่นในมุมมองหรือเส้นทางความคิดอื่นๆของเขา
; เรียนรู้ที่จะคิดถึงคนอื่น ซึ่งหมายถึงการประเมินความคิดที่จะเห็นใจผู้อื่น
(การพึ่งพาอาศัยกันต้องใช้จินตนาการความคิดสร้างสรรค์เช่นเดียวกับทักษะทางปัญญาและความคิดที่ยุติธรรม)

15 relevant

 
self-deception:การหลอกตัวเอง
คือการโกหกตนเองเกี่ยวกับความจริงเรื่องหนึ่ง ด้วยแรงจูงใจ หรือด้วยเพราะลักษณะบางอย่างของคนๆนั้น คำนิยามหนึ่งของ สปีชีส์มนุษย์ คือ มนุษย์นั้นเป็นสัตว์ที่หลอกตนเองได้ การหลอกตนเอง เป็นปัญหาขั้นพื้นฐานอย่างหนึ่งของชีวิตมนุษย์อยู่แล้ว และเป็นผลให้เกิดความทุกข์ทรมานใจมากมายกับมนุษย์ ดังนั้น การเอาชนะใจตนเอง หรือเลิกหลอกตนเองได้ผ่านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จะเป็นพื้นฐานอย่างหนึ่งของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นจุดประสงค์หลักอันหนึ่งของนักคิดที่มีวิจารณญาณ
17 social contradiction

18 sociocentricity การยึดสังคมเป็นศูนย์กลาง 
การ สันนิษฐานว่ากลุ่มทางสังคมของคนหนึ่งเหนือกว่ากลุ่มอื่นๆอย่างเป็นปรกติและ ชัดเจน เมื่อกลุ่มหรือสังคมหนึ่งเห็นว่าตัวเองเหนือกว่าและคิดว่ามุมมองของตัวเอง ถูกต้องหรือคิดว่าเป็นมุมมองเดียวที่มี สมเหตุสมผล และการกระทำทั้งหมดของพวกเขาสมเหตุสมผล มีแนวโน้มว่าความยิ่งใหญ่ ความคิดว่าตัวเองเหนือกว่าผู้อื่นนี้มาจากการคิดที่ปิดกั้นและแคบ ความขัดแย้งและความคลางแคลงใจทั้งหมดได้ถูกคิดว่าไม่น่าเชื่อถือและถู ดปฏิเสธโดยปราศจากการพิจารณา ผู้คนจำนวนน้อยพบว่าการยึดสังคมเป็นศูนย์กลางเป็นธรรมชาติที่อยู่ในความคิด ของพวกเขา

19 Socratic Questioning : คำถามแบบโสเครติส(คำถามเสวนา)
เป็นรูปแบบของการตั้งคำถามซึ่งใช้การสอบสวนอย่างล้ำลึกในการหาความหมาย
การหาหลักฐาน การหาเหตุผลที่หนักแน่นมาพิสูจน์ การตั้งคำถามแบบโสเครติสสามารถทำให้บรรลุได้ในหลากหลายแนวทาง และดัดแปลงได้หลายระดับ และสามารถเข้าใจได้ ด้วยการเข้าใจองค์ประกอบทางความคิด การสั่งสอนคุณธรรม และความรู้

20 specify/specific:การเจาะจง
 การกล่าวถึง
บรรยาย หรือแจกแจงในรายละเอียด ; การจำกัด หรือ ถูกจำกัด ;
การระบุ
หรือ ถูกระบุ ; ความแม่นยำ
; ความแน่นอน.
ความคิดของนักเรียน,การพูดและ การเขียน มีแนวโน้มที่จะคลุมเครือ ไม่ชัดเจน และ
กำกวม มากกว่า การระบุเฉพาะ, เป็น รูปธรรม และชัดเจน
เรียนรู้ที่จะกำหนดมุมมองที่ชัดเจนเป็นสิ่งจำเป็นในการเรียนรู้วิธีการคิดอย่างแจ่มแจ้งชัดเจนถูกต้องและแม่นยำ มองเห็นความสมบูรณ์ทางความคิด

21 strong sense critical thinker


22 teach: การสั่งสอน, อบรม
คำ ศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับการให้ความรู้หรือพัฒนาทักษะ การสั่งสอน หมายถึง การเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ มักเฉพาะเจาะจงในบางหมวดหมู่วิชา การให้ความรู้ หมายถึง การพัฒนาปัญญาที่ซ่อนเร้นอยู่ โดยมีการสองอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะในสถาบันการศึกษาระดับสูง การฝึกฝน หมายถึง การพัฒนาความสามารถหรือทักษะเฉพาะทางสำหรับการประกอบวิชาชีพ

theory:ทฤษฎี
การบรรยายอย่างเป็นระบบของหลักทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาหนึ่ง; การกำหนดของความสัมพันธ์ที่ชัดเจนหรือหลักทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานของปรากฏการณ์ที่สำรวจอย่างแน่นอน ซึ่งได้รับการพิสูจน์ว่าเป็นจริงในระดับหนึ่ง โดยมักไม่ตระหนักถึงข้อนี้ เรามักสร้างหลักทฤษฎีหนึ่งๆขึ้นมาเพื่อให้เราสามารถเข้าใจผู้คน เหตุการณ์ และปัญหาในชีวิตเรา นักคิดเชิงวิจารญาณนำทฤษฎีของตนเองไปใช้ในการทดสอบทางประสบการณ์และมีการคิดพิจารณาที่เหมาะสมต่อหลักทฤษฎีของผู้อื่น โดยนักคิดเชิงวิจารญาณจะไม่นำหลักทฤษฎีของตนเองไปใช้เป็นข้อเท็จจริง

Think
การคิด : คำธรรมดาทั่วไปที่หมายถึง การฝึกฝนทางปัญญารวมไปจนถึงรูปร่างของสิ่งที่คิด การบรรลุถึงข้อสรุป ตัวอย่างเช่น เหตุผล นำไปสู่การลำดับความคิดตรรกะ เริ่มต้นด้วยสิ่งที่รู้ หรือสมมติฐานและพัฒนาไปสู่บทสรุปที่แน่ชัดตลอดจนภาพความคิดสรุป การมองมุมกลับ นำไปสู่การกลับความคิดใดๆไปมาในหัวข้อและลงลึกในความหมาย หรือ ความคิดต่อยอด การคาดเดา นำไปสู่เหตุผลบนพื้นฐานของความไม่เสร็จสมบูรณ์ หรือหลักฐานที่ไม่แน่ใจ และผลักดันลักษณะของการคาดเดาความคิดเห็นนั้น ความสุขุมรอบคอบ นำไปสู่การระมัดระวัง และตลอดจนการพิจารณาสาระสำคัญของคำสั่งเพื่อบรรลุถึงข้อสรุป ถึงแม้ว่าทุกคนต่างมีความคิด แต่ไม่เพียงไม่กี่คนเท่านั้นที่คิดอย่างมีวิจารณญาณ เราไม่ต้องการการชี้แนะให้คิด เราสามารถคิดเองได้อย่างเป็นธรรมชาติ แต่เราต้องการการแนะนำ สำหรับการเรียนรู้วิธีมีวินัยทางความคิดและชี้นำความคิดของเราบนพื้นฐานของมาตรฐานทางปัญญา ตัวอย่างเช่น องค์ประกอบทางความคิด ความสมบูรณ์ของความคิด 

25 Truth ความจริง –  สอดคล้องกับความรู้,ข้อเท็จจริง,ความเป็นจริง หรือ ตรรกะ : เป็นถ้อยคำหรือเนื้อหาที่ได้รับการพิสูจน์และยอมรับว่าเป็นจริง ไม่ได้เป็นเท็จ หรือ ไม่มีข้อผิดพลาด ผู้คนส่วนใหญ่ที่ไม่ได้เป็นนักคิดเชิงวิจารณญาณนั้นมักจะสรุปโดยตัวเองว่า สิ่งที่ตัวเองเห็นและรับรู้มานั้นเป็นเรื่องจริง ซึ่งผู้ที่เป็นนักคิดเชิงวิจารณญาณต้องตระหนักและระวังถึงในข้อนี้


26 uncritical person


27 vague: ความเคลือบคลุม
ไม่ชัดเจน, ประณีต, หรือการแสดงออกที่ชัดเจน หรือการระบุ: ไม่ชัดเจน ไม่แน่นอน หรือปรานีตในความคิด ความรู้สึก หรือการแสดงออก ความเคลือบคลุมของความคิดและการแสดงออกเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาความคิด เราไม่สามารถเริ่มทดสอบความเชื่อของเราจนกระทั่งเราตระหนักอย่างชัดเจนว่าคืออะไร เราไม่สามารถไม่เห็นด้วยกับสิ่งที่บางคนพูดจนกระทั่งเราชัดเจนว่าพวกเขาหมายความว่าอะไร นักเรียนจะต้องหมั่นปฎิบัติในการเปลี่ยนโอนความคิดคลุมเครือให้เป็นความชัดเจน ความกำกวม, การทำให้ชัดเจน, ความคิด, ตรรก, คำถามที่เป็นตรรก, ภาษาที่เป็นตรรก


28 verbal implication



ความหมายโดยนัยทางวาจา: ซึ่งเป็นไปตามตรรกะของภาษา ยกตัวอย่างเช่น ใครคนหนึ่งใช้คำประจบสอพลอฉัน ฉันจะบ่งบอกได้ว่าคำชมนั้นไม่จริงใจและทำเพียงแค่ทำให้ฉันรู้สึกดีเท่านั้น เพื่อจัดการฉันโดยขัดแย้งกับดเหตุผลของฉัน หรือความสนใจในตอนจบประการหนึ่ง เชื่อมโยงกับคำว่า แสดงนัย, สรุป, ความหมายเชิงประจักษ์, และ องค์ประกอบของความคิด


29 weak sense critical thinkers:
คือ บุคคลผู้ที่ยังไม่ศึกษาเรียนรู้การให้เหตุผล ภายในจุดมุมมองที่เขาไม่เห็นด้วย เป็นผู้ที่คิดแบบตรรกะเพียงด้านเดียว ไม่มองถึงภาพองค์รวม ความคิดความอ่านหรือการแสดงเหตุผลของเขามักจะไม่ได้รับการเชื่อถืออย่างหมด จด เพราะเป็นความคิดที่ไม่ได้ผ่านการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่มากเพียงพอ โดยความคิดเห็นส่วนใหญ่มักจะมากจากการคิดเข้าข้างตนเอง

30 world view
มุม มองต่อโลก การกระทำของมนุษย์ทุกอย่างล้วนเกิดจากมุมมองที่เรามีต่อโลก การเรียนการสอนในปัจจุบันมีส่วนน้อยมากที่จะช่วยให้นักเรียนเข้าใจการมองโลก ที่จะช่วยให้เขามีประสบการณ์ ต้องเอาชนะความคิดแบบถือตนถือพวกเป็นใหญ่ จึงจะสามารถคิดอย่างมีเหตุผลได้ การคิดแบบแสวงหาความคิดหรือวิธีคิดที่แตกต่างจากของตนเอง รู้จักสร้างข้อโต้แย้งเป็นทักษะสำคัญที่ฝึกให้เกิดการคิดเชิงวิจารณญาณ
นัก เรียนจำเป็นต้องพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิจารณญาณ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาอย่างมีเหตุผล หากนักเรียนได้รับการฝึกฝนการเอาชนะความมุมมองที่ครอบงำอยู่ได้ เขาจะค้นพบวิธีการใช้เหตุผลต่อความอคติ และพัฒนาตนไปสู่การเป็นCritical thinker ที่ช่ำชองได้











กลุ่ม 1
กมลกร แช่มช้อย   LA301   5434401425  Accurate, Fair, Precision
ภาวิดา บัวเลิศ   LA328   5434429025 dialogical thinking, the logic of a disciplineverbal implication
อัตนา สวุวัฒนะ   LA338   5434440925   evidenceperfections of thought

กลุ่ม 2
กฤติมา ตันติวิศิษฎ์กุล (Analyze,Fallacy,Premise)
รัฐนินทร์ ผิวสุข (Elements of thought, Monological)
อนันตญา แจ่มไพบูลย์(Fact)


กลุ่ม 3
ปรานต์ ลิ้มชื่นใจ critical reading, intellectual virtues, sociecentricity
ภูริภัทร ชาญชนบท
อภิชาติ กิตติเมธาวีนันท์

กลุ่ม 4
กริน เพชรสุวรรณ ambiguous,faith,prejudice
สุขธัช สงค์สมบัติ empirical, multilogical (multi-dimensional) problems
อรจิรา มีชัยมั่นจิต perspective (point of view)

กลุ่ม 7
ณภัทร พจน์ชพรกุล clarify,intellectual autonomy,rational self
พสธร ลายสุวรรณชัย critical thinking,intuition,specify/specific
พิช

กลุ่ม 8 
เกศกนก น้อยจินดา argue,higher order learning,principal
พลอย ชลันบุรีธรรม critical society,interpret/interpretation,Socratic Questioning 

กลุ่ม 9
ปณิธาน กาสินพิลา 5434416925 critical listening,Intellectual perseverance,Self-deception
พิริยา ศรินทุ critique, irrational learning, teach
พุธิตา พงศ์สิรินทร์5434424925 cultural association,judment,theory

กลุ่ม 12
ชนม์นิภา โอภาสเจริญกิจ
ภรภัทร อรรถชิตวาทิน Cultural assumption , Justify/Justification , Think
ภฤตภรณ์ สิริกชกร  data,know,truth

กลุ่ม 13
ชนิกา ณรงคนานุกูล authority,infer/inference,rational/rationality
ชนินทร์ ชีระนังสุ
ภัทรา วงศ์สันติเมธ dialogical instruction, logic, vague

กลุ่ม 14
ธิติวุฒิ ต้นสอน
contradict/contradiction,intellectual humility,reciprocity 
ธันยบูรณ์ คำแสง

กลุ่ม 15 
 จิดาภา โชติดิลก
ศศิพิมพ์ อิสระวัฒนา
assume , emotion , idea , monologial thinking, problem solving
มีชัยมั่นจิต

กลุ่ม16 
รวิภา พีระวัฒนชาติ  domains of thought, the logic of questions, world view
รวิสรา หวังวิทยากุล egocentricity, lower order learning
ตุลยดา ขันติพงศ์ Conclude/conclusion, Intellectual
courage, Reasoned judgement



 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น